Publication: ผลจากการเรียนรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในนักเรียนระดับประถมศึกษา (โครงการรามาน้อย)
Issued Date
2562
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 42, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2562), 19-28
Suggested Citation
กษมณฑ์ อร่ามวาณิชย์, ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา, พรรณวิไล ตั้งกุลพานิชย์, จารุพล ตวงศิริทรัพย์, Kasamon Aramvanitch, Yuwares Sittichanbuncha, Panvilai Tangkulpanich, Jarupol Tuangsirisup ผลจากการเรียนรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในนักเรียนระดับประถมศึกษา (โครงการรามาน้อย). รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 42, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2562), 19-28. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72250
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลจากการเรียนรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในนักเรียนระดับประถมศึกษา (โครงการรามาน้อย)
Alternative Title(s)
Learning Outcomes of Basic Life Support in Primary School Children (RAMAkids Club)
Abstract
บทนำ: การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลได้อย่าง
รวดเร็วเป็นปัจจัยสำคัญต่อการรอดชีวิตของผู้ป่วย ประเทศไทยมีการช่วยชีวิต
ขั้นพื้นฐานโดยประชาชนทั่วไปเพียงร้อยละ 15.8
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสามารถในการเรียนรู้เรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
และประสิทธิภาพการช่วยชีวิตขั้นพ้นื ฐานในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษา
วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบย้อนหลังโดยรวบรวมข้อมูลจากการสอน
เรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพเด็ก (รามาน้อย) ในช่วงปิดภาคเรียน (เดือนตุลาคม
พ.ศ. 2558) โดยใช้แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน และการสอบปฏิบัติ
ผลการศึกษา: เด็กนักเรียนเข้าเรียนทั้งหมด จำนวน 63 คน เป็นเพศชาย จำนวน
26 คน ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 4 มีความสามารถในการเรียนรู้
โดยพิจารณาจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน รวมท้้งจากการสอบปฏิบัติ
เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพในการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานจากการปฏิบัติพบว่า
สามารถกดหน้าอกได้ลึกเฉลี่ยเท่ากับ 3.3 เซนติเมตร และอัตราเร็วเฉลี่ยเท่ากับ
106.9 ครั้งต่อนาที
สรุป: การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษามีความสามารถ
ในการเรียนรู้เรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและสามารถเริ่มต้นการช่วยชีวิต
ได้อย่างถูกต้อง การเริ่มเรียนช่วยฟื้นคืนชีพข้้นพื้นฐานในนักเรียนระดับประถมศึกษา
สามารถส่งเสริมการรับรู้ของนักเรียนเกี่ยวกับผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
และเพิ่มความรู้เกี่ยวกับกระบวนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้
Background: Rapid initiation of basic life support (BLS) significantly associate with return of spontaneous circulation (ROSC) in out-of-hospital cardiac arrest (OHCA). In Thailand, only 15.8% of OHCA receive bystander cardiopulmonary resuscitation (CPR). Objective: To study learning outcome in BLS and effective skill of BLS in primary school children. Methods: Data was collected retrospectively in BLS training. The training provided for RAMAkids club which participants were primary school children during summer (October 2015). Pretest, posttest, and practical exams were applied to evaluate BLS training. Results: All 63 students completed all the steps, 26 students were boys, and almost students studied in grade 1-4. Primary school children had ability to learn from pretest, posttest, and practice skill evaluation. The effectiveness of chest compression in BLS were average in depth and speed of 3.3 cm and 106.9 time/minute, respectively. Conclusions: This study showed that primary school children had ability to learn BLS skill and could be initiated basic rescue properly. Early training BLS for primary school children enhances their alertness in recognizing a cardiac arrest and knowledge of BLS procedures.
Background: Rapid initiation of basic life support (BLS) significantly associate with return of spontaneous circulation (ROSC) in out-of-hospital cardiac arrest (OHCA). In Thailand, only 15.8% of OHCA receive bystander cardiopulmonary resuscitation (CPR). Objective: To study learning outcome in BLS and effective skill of BLS in primary school children. Methods: Data was collected retrospectively in BLS training. The training provided for RAMAkids club which participants were primary school children during summer (October 2015). Pretest, posttest, and practical exams were applied to evaluate BLS training. Results: All 63 students completed all the steps, 26 students were boys, and almost students studied in grade 1-4. Primary school children had ability to learn from pretest, posttest, and practice skill evaluation. The effectiveness of chest compression in BLS were average in depth and speed of 3.3 cm and 106.9 time/minute, respectively. Conclusions: This study showed that primary school children had ability to learn BLS skill and could be initiated basic rescue properly. Early training BLS for primary school children enhances their alertness in recognizing a cardiac arrest and knowledge of BLS procedures.