Publication:
ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยกับการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลากรช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง

dc.contributor.authorพรทิชา นันทานุกู
dc.contributor.authorจารุวรรณ ธาดาเดช
dc.contributor.authorปรารถนา สถิตย์วิภาวี
dc.contributor.authorพงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์
dc.contributor.authorPornticha Nantanukul
dc.contributor.authorCharuwan Tadadej
dc.contributor.authorPratana Satitvipawee
dc.contributor.authorPongsakorn Atiksawedparit
dc.date.accessioned2025-04-29T06:27:49Z
dc.date.available2025-04-29T06:27:49Z
dc.date.created2568-04-29
dc.date.issued2566
dc.description.abstractบทนำ: ความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นเรื่องที่สำคัญของระบบสุขภาพ การมีวัฒนธรรมความปลอดภัยจะเป็นการประกันคุณภาพโรงพยาบาลและมาตรฐานการบริการระบบบริการสุขภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยในบุคลากรในภาพรวมช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ในกลุ่มตัวอย่างบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย จำนวน 284 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 และทำการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษา: บุคลากรมีการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย จำนวน 9 มิติ จาก 12 มิติ โดยมีระดับการรับรู้สูง (median [range], 4.00 [1.00 - 5.00]) ด้านความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า ปัจจัยด้านประสบการณ์การทำงานในโรงพยาบาล (Adjusted OR, 2.85; 95% CI, 1.26 - 6.42) และนโยบายด้านความปลอดภัย (Adjusted OR, 9.5; 95% CI, 1.23 -73.37) มีความสัมพันธ์กับมิติการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญ (P < .05) สรุป: บุคลากรที่มีประสบการณ์การทำงานในโรงพยาบาล มีโอกาสรับรู้มิติการรับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่วยในภาพรวมอยู่ในระดับสูง และบุคลากรที่รับทราบนโยบายด้านความปลอดภัยและปฏิบัติตาม มีโอกาสรับรู้มิติการรับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่ วยในภาพรวมอยู่ในระดับสูง
dc.description.abstractBackground: Patient safety is an important issue in healthcare systems. Safety culture ensures the quality of hospitals and sets the standard for healthcare systems. Objectives: To study the level of perception of patient safety culture, and factors related to the overall perception of safety in one university hospital during COVID-19epidemic. Methods: This cross-sectional survey included 284 participants who worked at the university hospital. Data were collected using questionnaires from April 21, 2022, to May 31, 2022, and analyses were performed. Results: Participants had a high perception of safety culture on 9 out of 12 dimensions (median [range], 4.00 [1.00 - 5.00]). The association between the variables found that the working experience in this hospital (Adjusted OR, 2.85; 95% CI, 1.26 - 6.42), and hospital policies on patient safety (Adjusted OR, 9.5; 95% CI, 1.23 - 73.37) were a statistically significant correlation with the overall perception of patient safety (P < .05). Conclusions: Personnel in this hospital with working experience had a high level of the overall perception of patient safety. Personnel who were aware of the safety policy and complied with it were likely to have had a high level of the overall perception of patient safety.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 46, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2566), 19-31
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109822
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rights.holderภาควิชาชีวสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rights.holderสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
dc.subjectนโยบายความปลอดภัยของโรงพยาบาล
dc.subjectการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่ วย
dc.subjectUniversity hospital
dc.subjectPatient safety policy
dc.subjectPerception of patient safety culture
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยกับการรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของบุคลากรช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง
dc.title.alternativeRelationship Between Patient Safety Policies and Staff’s Perceptions of Safety Culture During COVID-19 Epidemic in One University Hospital
dc.typeOriginal Article
dcterms.accessRightsopen access
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/264849/181818
oaire.citation.endPage31
oaire.citation.issue4
oaire.citation.startPage19
oaire.citation.titleรามาธิบดีเวชสาร
oaire.citation.volume46
oaire.versionAccepted Manuscript
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติ
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ph-ar-porntich-2566.pdf
Size:
4.02 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections