Publication:
โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยผ่าตัดทําทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ

dc.contributor.authorวาสนา พุ่มจันทร์en_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorสุปรียา ตันสกุลen_US
dc.contributor.authorมณฑา เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorWasana Pumjunen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorSupreya Tansakulen_US
dc.contributor.authorMondha Kengganpanichen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2021-01-07T15:36:53Z
dc.date.available2021-01-07T15:36:53Z
dc.date.created2564-01-07
dc.date.issued2556
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่ประยุกต์ทฤษฏีความสามารถตนเองและ แรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 43 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 21 คนและกลุ่ม เปรียบเทียบ 22 คน กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมสุขศึกษาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการสอนสุข ศึกษาตามปกติ ระยะเวลาทดลองรวม 36 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกตการปฏิบัติตัว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired Sample t-test , Independent t-test และ ANOVA ผลการศึกษาพบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของความรู้ การ รับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง และความคาดหวังในผลดีของการดูแลตนเองหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอด เลือดหัวใจสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) สำหรับ คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดขณะอยู่ไอซียู พบว่าดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) และ คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดระหว่างกลุ่มทั้ง 3 ระยะ คือ ระยะก่อนจำหน่ายจาก โรงพยาบาล ระยะหลังจำหน่าย 1 สัปดาห์ และ 5 สัปดาห์ พบว่ากลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) แต่พบว่า ภายในกลุ่มทดลองมีการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองหลังผ่าตัดที่ถูกต้อง ทั้ง 3 ระยะอย่างไม่แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะจากการวิจัยโปรแกรมนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มผู้ป่วยผ่าตัด ทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ เพื่อส่งเสริมให้มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมen_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research investigated the effectiveness of a health education program that applied Self-Efficacy theory and social support for promoting self-care behavior of coronary artery bypass grafting patients at Chulalongkorn Hospital. The total of 43 patients were grouped into 2 groups, experimental and comparison groups with 21 and 22 patients respectively. The experimental group participated in the health education developed while the comparison group participated in regular health education activities. The experiment lasted 36 weeks. The data collection was done by using the structured interview and the practice-observation form developed, and data were analyzed by computing frequency, percentage, mean, standard deviation, Paired Sample t-test, Independent ttest and ANOVA. The research results indicated that after the experiment, significantly higher mean scores regarding knowledge, perceived self-efficacy to perform self-care behavior and perceived benefits of self-care behavior after coronary artery bypass grafting of the experimental group was found compared to before the experimentation and of the comparison group (p<0.001). In regard to post-operation behavior the mean score of the experimental group in ICU, significantly higher than the mean score of the comparison group (p<0.001) and for the self-care behavior after coronary artery bypass grafting between group of the 3 stages, before discharging, 1 week and 5 weeks after discharging, the experimental group’s behavior mean scores were significantly higher than those of the comparison group (p<0.001). But, it was found that self-care behavior of all 3 stages of within the experimental group were correct, whereas no significant difference was found among the three stages. Suggestion of this study, this type of program can be applied to coronary artery bypass grafting patients.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 125 (ก.ค.- ธ.ค. 2556), 10-27en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60676
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมสุขศึกษาen_US
dc.subjectผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจen_US
dc.subjectพฤติกรรมการดูแลตนเองen_US
dc.subjectHealth education programen_US
dc.subjectCoronary artery bypass grafting patientsen_US
dc.subjectSelf-care behavioren_US
dc.titleโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยผ่าตัดทําทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจen_US
dc.title.alternativeHealth Education Program for Promoting Self-Care Behavior of Coronary Artery Bypass Grafting Patientsen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-tharadol-2556.pdf
Size:
2.8 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections