Publication:
ความรับผิดตามกฎหมายของแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยกับหลักวิธีปฏิบัติ เพื่อเป็นเลิศทางการแพทย์

dc.contributor.authorสุธี อยู่สถาพรen_US
dc.contributor.authorSuthee Usathapornen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุขen_US
dc.date.accessioned2018-11-30T06:59:08Z
dc.date.available2018-11-30T06:59:08Z
dc.date.created2561-11-30
dc.date.issued2559
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ความรับผิดทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเด็นปัญหาที่แพทย์ผู้ให้การรักษาผู้ป่วยอย่างมีมาตรฐานแต่ถูกฟ้องต่อศาลยุติธรรมเนื่องจากผู้ป่วยถึง แก่ความตาย หรือได้รับความเสียหายแก่กาย ตามหลักละเมิดมาตรา 420 ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาพัฒนาการจัดการกับปัญหาการฟ้องคดีทุรเวชปฏิบัติทางการแพทย์มี การปรับใช้หลักเกณฑ์ทางกฎหมายตั้งแต่การใช้หลักละเมิดทางแพ่ง หลักความรับผิดตามสัญญา หลัก ความรับผิดทางอาญา อนึ่งกฎหมายอังกฤษ และอเมริกาในส่วนของมาตรฐานการรักษาโดยไม่พูดถึงหลัก หรือใช้แนวคิด “Best Practice” อาจนำหลักกฎหมายอังกฤษที่เกี่ยวกับมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ แพทย์มาเป็นต้นแบบสำคัญในการวินิจฉัยความรับผิดทางการแพทย์ โดยมุ่งสู่การปรับใช้ หลักการ พิจารณา ข้อดี ข้อเสียของการรักษาผู้ป่วย ความรุนแรงของโรค สถานะทางการเงินของผู้ป่วย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งหลักการสร้างความเข้าใจของผู้ป่วยต่อกระบวนการรักษาพยาบาล และผลข้างเคียงที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการที่แพทย์จะต้องใช้องค์ความรู้ในการวินิจฉัยโรค ปัญหาการที่แพทย์ถูกฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีตามกฎหมายอื่นใดย่อมถือเป็นประเด็นสำคัญที่ควรมีการศึกษา เพื่อพัฒนาการตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทั้งแพทย์ และผู้ป่วยต่อไปen_US
dc.description.abstractThis articles aims to examine the medical liability and the decline employing the concept of the best practice to medical negligence case. In the past, the physician faced with fort action for the patient’s death. Tort action was accrued under section 420 of the Thai civil and commercial code. To resolve the medical lawsuits, courts always apply general tort law, contract law, Criminal law as well as the best practice technique to maintain medical standard. However according to medical standards and primary legislations in the United Kingdom and in the United State, the courts tended to decline in using the best practice method for medical malpractice case, by taking an approach to consider advantage and disadvantage of medical treatment, dangerous and serious illness, a patient’s financial situation particularly, how to facilitate understanding between doctors and patients about treatment of disease and its potential side effects including medical diagnostic knowledge applications. The problem on legal medical malpractice claims dis courage physicians, and patients.en_US
dc.identifier.citationวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559), 138-148
dc.identifier.issn2408-249X
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/36918
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความรับผิดของแพทย์en_US
dc.subjectละเมิดen_US
dc.subjectวิธีปฏิบัติเพื่อความเป็นเลิศen_US
dc.subjectมาตรฐานทางการแพทย์en_US
dc.subjectวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublic Health & Health Laws Journalen_US
dc.titleความรับผิดตามกฎหมายของแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยกับหลักวิธีปฏิบัติ เพื่อเป็นเลิศทางการแพทย์en_US
dc.title.alternativeThe Medical Liability and the Best Practice for Medical Professionen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://phad.ph.mahidol.ac.th/journal_law/2-1/14-Suthee%20Usathaporn.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-suthee-2559.pdf
Size:
279.41 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections