Publication: Rapid Assessment and Response: The Context of HIV/AIDS and Adolescents in Bangkok
Issued Date
2011
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol 29, Nol. 3, ( Jul.-Sep. 2011), 28-35
Suggested Citation
Nantiya Watthayu, นันทิยา วัฒายุ, Jennifer Wenzel, Ratree Sirisreetreeru, ราตรี ศิริศรีตรีรักษ์, Chayathit Sangprasert, ชายาทิต แสงประเสริฐ, Nuntiga Wisettanakorn, นันทิกา วิเศษธนากร Rapid Assessment and Response: The Context of HIV/AIDS and Adolescents in Bangkok. Journal of Nursing Science. Vol 29, Nol. 3, ( Jul.-Sep. 2011), 28-35. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3383
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Rapid Assessment and Response: The Context of HIV/AIDS and Adolescents in Bangkok
Alternative Title(s)
การประเมินและการตอบสนองอย่างรวดเร็ว: บริบทของพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV/AIDS ของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร
Abstract
Purpose: The purpose of this study was to implement and evaluate the Rapid Assessment and Response (RAR) method of assessing HIV/AIDS risk-taking behaviors among adolescents in Thailand.
Design: This community-based participatory research was designed in partnership with a community working group (CWG) consisting of local leaders, public health and social services providers.
Methods: Findings described here are derived from a larger study in which data were collected using five methods: focus groups, cultural expert interviews, mapping, observation, and surveys. Only findings from the survey, developed for this study, are reported here. The survey comprised: demographic data (16 items); HIV/AIDS knowledge (5 items), beliefs and values regarding HIV/AIDS and condom use (17 items); perceived risk (2 items); and HIV/AIDS risk-taking behaviors (22 items).
Main findings: The survey was administered to 100 adolescents aged 12 - 22 years. Findings revealed that adolescents are at an elevated risk of early, unprotected sex. Observed high risk behaviors included: unsafe sex, sex exchanges (for example, for drugs and money), substance abuse, and drug-dealing. There were also strong links between alcohol consumption and unprotected sexual encounters. Due to the observed lack of HIV/AIDS knowledge among adolescents, communities expressed a need for school-based or community-based prevention programs. Survey results were presented to the CWG to develop targeted action plans and research-based recommendations.
Conclusion and recommendations: RAR appears to be an effective assessment tool to develop population-specific HIV/AIDS prevention interventions. The findings of this study provide information that could enable local health providers and policy makers in developing and implementing community-specific interventions to reduce the spread of HIV/AIDS among young people.
วัตถุประสงค์: เพื่อดำเนินการและประเมินผลของการนำวิธีการการประเมินและการตอบสนองอย่างรวดเร็วมาใช้ในการประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV/AIDS ของวัยรุ่นในประเทศไทย วิธีการดำเนินการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยความร่วมมือกับคณะทำงานชุมชน (CWG) ประกอบด้วยผู้นำท้องถิ่น และผู้ให้บริการสุขภาพและทางสังคม ผลการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาใหญ่ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล 5 วิธี ได้แก่ การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางวัฒนธรรม การทำแผนที่ การสังเกต และการสำรวจความคิดเห็นของคนทั่วไป ซึ่งจะรายงานผลการศึกษาที่ได้จากการสำรวจเท่านั้น แบบสำรวจประกอบด้วยข้อมูลประชากร (16 ข้อ) ความรู้เกี่ยวกับ HIV/AIDS (5 ข้อ) ความเชื่อและค่านิยมเกี่ยวกับ HIV/AIDS และใช้ถุงยางอนามัย (17 ข้อ) การรับรู้ความเสี่ยง (2 ข้อ) และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV/AIDS (22 ข้อ) ผลการวิจัย: ผลการสำรวจโดยการตอบแบบสำรวจด้วยตนเองในวัยรุ่นจำนวน 100 คน ที่มีอายุระหว่าง 12-22 ปี พบว่า วัยรุ่นมีความเสี่ยงสูงเพิ่มขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกัน พฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูงได้แก่: เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย, การมีเพศสัมพันธ์เพื่อแลกเปลี่ยน เช่น ยาเสพติดและเงิน การใช้สารเสพติดและการค้ายาเสพติด นอกจากนี้ พบว่า การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีความเชื่อมโยงกับการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกัน เนื่องจากการขาดความรู้เกี่ยวกับ HIV/AIDS ของวัยรุ่น ชุมชนเล็งเห็นความจำเป็นของโปรแกรมการป้องกัน ทั้งในโรงเรียนหรือในชุมชน ผลการสำรวจได้ถูกนำเสนอกับคณะทำงานชุมชน (CWG) เพื่อพัฒนาแผนปฏิบัติการเป้าหมายและกำหนดข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย สรุปและข้อเสนอแนะ: RAR เป็นเครื่องมือในการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับประชาชนในการป้องกัน HIV/AIDS ผลจากการศึกษานี้ให้ข้อมูลที่ช่วยผู้ให้บริการสุขภาพในท้องถิ่น และผู้กำหนดนโยบายในการพัฒนา และการดำเนินโครงการที่เฉพาะสำหรับชุมชนเพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อ HIV/AIDS ในหมู่คนหนุ่มสาว
วัตถุประสงค์: เพื่อดำเนินการและประเมินผลของการนำวิธีการการประเมินและการตอบสนองอย่างรวดเร็วมาใช้ในการประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV/AIDS ของวัยรุ่นในประเทศไทย วิธีการดำเนินการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยความร่วมมือกับคณะทำงานชุมชน (CWG) ประกอบด้วยผู้นำท้องถิ่น และผู้ให้บริการสุขภาพและทางสังคม ผลการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาใหญ่ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล 5 วิธี ได้แก่ การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางวัฒนธรรม การทำแผนที่ การสังเกต และการสำรวจความคิดเห็นของคนทั่วไป ซึ่งจะรายงานผลการศึกษาที่ได้จากการสำรวจเท่านั้น แบบสำรวจประกอบด้วยข้อมูลประชากร (16 ข้อ) ความรู้เกี่ยวกับ HIV/AIDS (5 ข้อ) ความเชื่อและค่านิยมเกี่ยวกับ HIV/AIDS และใช้ถุงยางอนามัย (17 ข้อ) การรับรู้ความเสี่ยง (2 ข้อ) และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV/AIDS (22 ข้อ) ผลการวิจัย: ผลการสำรวจโดยการตอบแบบสำรวจด้วยตนเองในวัยรุ่นจำนวน 100 คน ที่มีอายุระหว่าง 12-22 ปี พบว่า วัยรุ่นมีความเสี่ยงสูงเพิ่มขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกัน พฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูงได้แก่: เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย, การมีเพศสัมพันธ์เพื่อแลกเปลี่ยน เช่น ยาเสพติดและเงิน การใช้สารเสพติดและการค้ายาเสพติด นอกจากนี้ พบว่า การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีความเชื่อมโยงกับการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกัน เนื่องจากการขาดความรู้เกี่ยวกับ HIV/AIDS ของวัยรุ่น ชุมชนเล็งเห็นความจำเป็นของโปรแกรมการป้องกัน ทั้งในโรงเรียนหรือในชุมชน ผลการสำรวจได้ถูกนำเสนอกับคณะทำงานชุมชน (CWG) เพื่อพัฒนาแผนปฏิบัติการเป้าหมายและกำหนดข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย สรุปและข้อเสนอแนะ: RAR เป็นเครื่องมือในการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับประชาชนในการป้องกัน HIV/AIDS ผลจากการศึกษานี้ให้ข้อมูลที่ช่วยผู้ให้บริการสุขภาพในท้องถิ่น และผู้กำหนดนโยบายในการพัฒนา และการดำเนินโครงการที่เฉพาะสำหรับชุมชนเพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อ HIV/AIDS ในหมู่คนหนุ่มสาว
Sponsorship
This research project was supported by the McLean Foundation, USA.