Publication:
ผลของโปรแกรมอบรมการช่วยชีวิตต่อความรู้ การรับรู้สมรรถนะของตนเอง ในการช่วยชีวิต และความสามารถในการกดหน้าอกของนักศึกษาพยาบาล

dc.contributor.authorพิชญา ทองโพธิ์en_US
dc.contributor.authorกิ่งแก้ว อุดมชัยกูลen_US
dc.contributor.authorPichaya Thongpoen_US
dc.contributor.authorKingkaew Udomchaikulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2020-06-29T07:43:56Z
dc.date.available2020-06-29T07:43:56Z
dc.date.created2563-06-29
dc.date.issued2563
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นวิจัยเชิงเปรียบเทียบ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ในการ ช่วยชีวิต การรับรู้สมรรถนะของตนเองของนักศึกษาพยาบาลในการช่วยชีวิตก่อนและหลังเข้า โปรแกรมอบรมการช่วยชีวิต และประเมินความสามารถของนักศึกษาพยาบาลในการกดหน้าอก ภายหลังเข้ารับการอบรม กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 จำนวน 180 ราย เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมการช่วยชีวิต แบบวัดความรู้ในการช่วยชีวิต แบบวัดการรับรู้สมรรถนะ ของตนเองในการช่วยชีวิต และหุ่นจำลองเชื่อมต่อกับเครื่องบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติบรรยาย และสถิติการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างสองกล่มุ ที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการศึกษาพบว่าภายหลังการอบรม กลุ่มตัวอย่างมีความรู้และการรับรู้สมรรถนะของตนเอง ในการช่วยชีวิตสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีความสามารถในการกดหน้าอก เป็นไปตามเกณฑ์ของสมาคมโรคหัวใจสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2015 โดยมีร้อยละของความถูกต้อง หลังอบรมดังนี้ ตำแหน่งวางมือกดหน้าอกร้อยละ 72.22 ความลึกในการกดหน้าอกร้อยละ 90 ความเร็วในการกดหน้าอกร้อยละ 7.22 และการคืนตัวอย่างเต็มที่ของทรวงอกก่อนการกดหน้าอก ครั้งต่อไปร้อยละ 77.78 ดังนั้น จึงควรจัดโปรแกรมอบรมการช่วยชีวิตให้นักศึกษาพยาบาลตั้งแต่ ก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติบนคลินิกเพื่อเพิ่มพูนความรู้ การรับรู้สมรรถนะของตนเองในการช่วยชีวิต และ ความสามารถในการกดหน้าอก โดยเฉพาะอัตราเร็วในการกดหน้าอกที่ถูกต้องตามเกณฑ์en_US
dc.description.abstractThis study aimed to compare the knowledge of cardiopulmonary resuscitation and perceived self-efficacy in cardiopulmonary resuscitation among nursing students before and after attending a cardiopulmonary resuscitation training program, and to evaluate their chest compression performance after the training. The sample included 180 fourth-year nursing students. The instruments consisted of the Cardiopulmonary Resuscitation Training Program, the Knowledge of Cardiopulmonary Resuscitation Questionnaire, the Perceived Self-efficacy in Cardiopulmonary Resuscitation Questionnaire, and a manikin with skill reporters. Descriptive statistics and paired sample t-test were used in data analysis. The results revealed that knowledge of cardiopulmonary resuscitation and perceived self-efficacy in cardiopulmonary resuscitation of the students after the training significantly increased from the baseline. The percent correct scores of chest compression performance as recommended by the 2015 American Heart Association guidelines were 72.22% of correct hand placement, 90% of adequate depth, 7.22% of an adequate rate of compression, and 77.78% of full chest recoil. Therefore, the cardiopulmonary resuscitation training program should be initially established for nursing students before starting clinical practice to achieve better basic life support knowledge, perceived self-efficacy in cardiopulmonary resuscitation, and chest compression performance, especially the appropriate of chest compression rate based on the guidelines.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 26, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2563), 107-121en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56868
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมอบรมการช่วยชีวิตen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectการรับรู้สมรรถนะของตนเองen_US
dc.subjectการกดหน้าอกen_US
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen_US
dc.subjectCardiopulmonary resuscitation training programen_US
dc.subjectKnowledgeen_US
dc.subjectPerceived selfefficacyen_US
dc.subjectChest compression performanceen_US
dc.subjectNursing studentsen_US
dc.titleผลของโปรแกรมอบรมการช่วยชีวิตต่อความรู้ การรับรู้สมรรถนะของตนเอง ในการช่วยชีวิต และความสามารถในการกดหน้าอกของนักศึกษาพยาบาลen_US
dc.title.alternativeEffects of a Cardiopulmonary Resuscitation Training Program on Knowledge, Perceived Self-efficacy in Cardiopulmonary Resuscitation, and Chest Compression Performance among Nursing Studentsen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/189276/164529

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-pichaya-2563.pdf
Size:
556.26 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections