Publication: Diagnostic Accuracy of Subligamentous Spread in Magnetic Resonance Imaging
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology,Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Orthopedics Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Orthopedics Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 38, No. 3 (Jul-Sep 2015), 189-196
Suggested Citation
Nittaya Chitrapazt, Pornpavit Sriphirom, Wongsakorn Nontaragchaisorn, Patarawan Woratanarat, Pramarn Fuangfa, Suphaneewan Jaovisidha, นิยตา จิตรภาษย์, พรภวิษณ์ ศรีภิรมย์, วงศกร นนทรักษ์ชัยศร, ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์, ประมาณ เฟื่องฟ้า, สุภนีวรรณ เชาว์วิศิษฐ Diagnostic Accuracy of Subligamentous Spread in Magnetic Resonance Imaging. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 38, No. 3 (Jul-Sep 2015), 189-196. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79635
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Diagnostic Accuracy of Subligamentous Spread in Magnetic Resonance Imaging
Alternative Title(s)
ความแม่นยำในการวินิจฉัยโรคของกระดูกสันหลังด้วยลักษณะของ subligamentous spread ในภาพเอ็มอาร์ไอ Article Sidebar
Abstract
Objective: To evaluate the diagnostic value of subligamentous spread in the spinal tuberculosis.
Methods: Retrospective review of spinal magnetic resonance images was performed to evaluate the subligamentous spreading in 84 patients. The differentiation of subligamentous spreading in group of spinal tuberculosis and spinal metastasis were analyzed.
Result: There was statistically significant difference (p-value < 0.05) by univariate and multivariate analyses in parameters of location of the spinal involvement and maximum thickness of subligamentous spread between the groups of spinal TB and spinal metastasis. The presence of subligamentous spread and number of level involved had statistically significant difference by univariate analysis. Each millimeter of increased maximum thickness of subligamentous spread increased the probability of spinal TB about 1.36 times. The sensitivity, specificity, accuracy, positive predictive value and negative predictive value are 78.38%, 59.57%, 67.86%, 60.42%, and 77.78%, respectively.
Conclusions: There was statistically significant difference in the presence of subligamentous spread, number of level involved, maximum thickness, and location of spinal involvement between the groups of spinal tuberculosis and spinal metastasis. Increased maximum thickness of subligamentous spread increases the probability of spinal tuberculosis.
วัตถุประสงค์: ศึกษาถึงการความน่าเชื่อถือของลักษณะ subligamentous spread ที่พบในภาพเอ็มอาร์ เพื่อใช้การวินิจฉัยวัณโรคของกระดูกสันหลัง วิธีการ: ทำการศึกษาย้อนหลังจากภาพเอ็มอาร์ของผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคที่กระดูกสันหลัง และผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูกสันหลังรวมทั้งหมด 84 ราย เพื่อหาความแตกต่างของลักษณะ subligamentous spread ในผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม ผลการศึกษา: พบว่าตำแหน่งของรอยโรคที่กระดูกสันหลังและความหนาที่มากที่สุดของ subligamentous spread มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในการวิเคราะห์แบบหลายตัวแปรและตัวแปรเดี่ยว ในการวิเคราะห์ตัวแปรเดี่ยวยังแสดงถึงการพบ subligamentous spread และจำนวนของระดับที่ subligamentous spread ก็แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความหนาของ subligamentous spread ที่เพิ่มขึ้นทุก 1 มิลลิเมตร จะเพิ่มความน่าจะเป็นของวัณโรคที่กระดูกสันหลังขึ้น 1.36 เท่า ลักษณะ subligamentous spread มีค่าความไวร้อยละ 78.38 ความจำเพาะร้อยละ 59.57 คุณค่าทำนายผลบวกร้อยละ 67.86 คุณค่าทำนายผลลบร้อยบะ 60.42 และความแม่นยำร้อยละ 77.78 สรุป: ตำแหน่งของรอยโรคที่กระดูกสันหลัง การพบ subligamentous spread จำนวนของระดับที่พบและความหนาของ subligamentous spread มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคของกระดูกสันหลัง และผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูกสันหลัง ความหนาของ subligamentous spread ที่เพิ่มขึ้น จะเพิ่มความน่าจะเป็นของวัณโรคที่กระดูกสันหลังขึ้น
วัตถุประสงค์: ศึกษาถึงการความน่าเชื่อถือของลักษณะ subligamentous spread ที่พบในภาพเอ็มอาร์ เพื่อใช้การวินิจฉัยวัณโรคของกระดูกสันหลัง วิธีการ: ทำการศึกษาย้อนหลังจากภาพเอ็มอาร์ของผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคที่กระดูกสันหลัง และผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูกสันหลังรวมทั้งหมด 84 ราย เพื่อหาความแตกต่างของลักษณะ subligamentous spread ในผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม ผลการศึกษา: พบว่าตำแหน่งของรอยโรคที่กระดูกสันหลังและความหนาที่มากที่สุดของ subligamentous spread มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในการวิเคราะห์แบบหลายตัวแปรและตัวแปรเดี่ยว ในการวิเคราะห์ตัวแปรเดี่ยวยังแสดงถึงการพบ subligamentous spread และจำนวนของระดับที่ subligamentous spread ก็แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความหนาของ subligamentous spread ที่เพิ่มขึ้นทุก 1 มิลลิเมตร จะเพิ่มความน่าจะเป็นของวัณโรคที่กระดูกสันหลังขึ้น 1.36 เท่า ลักษณะ subligamentous spread มีค่าความไวร้อยละ 78.38 ความจำเพาะร้อยละ 59.57 คุณค่าทำนายผลบวกร้อยละ 67.86 คุณค่าทำนายผลลบร้อยบะ 60.42 และความแม่นยำร้อยละ 77.78 สรุป: ตำแหน่งของรอยโรคที่กระดูกสันหลัง การพบ subligamentous spread จำนวนของระดับที่พบและความหนาของ subligamentous spread มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคของกระดูกสันหลัง และผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งมาที่กระดูกสันหลัง ความหนาของ subligamentous spread ที่เพิ่มขึ้น จะเพิ่มความน่าจะเป็นของวัณโรคที่กระดูกสันหลังขึ้น