Publication: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจำหน่ายล่าช้าของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมารับบริการที่หน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน
Issued Date
2564
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2564), 247-264
Suggested Citation
พัชระกรพจน์ ศรีประสาร, นิชธิมา เสรีวิชยสวัสดิ์, นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Phatcharakoraphot Sreeprasarn, Nitchatima Sereewichayasawad, Nareemarn Neelapaichit ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจำหน่ายล่าช้าของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมารับบริการที่หน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2564), 247-264. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72064
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจำหน่ายล่าช้าของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมารับบริการที่หน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน
Alternative Title(s)
Factors Associated with Delayed Hospital Discharge among Patients being Transferred to Home Health Care Unit
Other Contributor(s)
Abstract
การจำหน่ายล่าช้าของผู้ป่วยเป็นปัญหาสำคัญในระบบบริการสุุขภาพทำให้การบริหารจัดการเตียงไม่มีประสิทธิภาพและค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบตัดขวาง มีวัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจำหน่ายล่าช้าของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมารับบริการที่หน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล มีคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของบาร์เทล ≤ 19 คะแนนและผู้ดููแล จำนวน 231 รายในแต่ละกลุ่ม เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมููล ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมููลส่วนบุุคคลของผู้ป่วยและผู้ดููแล แบบประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน แบบประเมินระดัับความมั่นใจในการดููแล แบบประเมินแรงสนับสนุนจากครอบครัว และแบบประเมินแรงสนับสนุนจากบุคลากรทีมสุุขภาพ วิเคราะห์ข้อมููลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบไบนารี ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจำหน่ายล่าช้าของผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ระยะเวลานอนโรงพยาบาล ระยะเวลานอนในหอผู้ป่วยวิกฤติ ผู้ป่วยที่มีปัญหาต่อเนื่องในระบบทางเดินหายใจ ผู้ดููแลที่อายุมาก รายได้ที่ไม่เพียงพอ ผู้ดููแลสุุขภาพไม่ดีไม่มีประสบการณ์การดููแล ระดับความมั่นใจในการดููแลต่ำแรงสนับสนุุนจากครอบครัวระดับต่ำและระยะเวลาวางแผนจำหน่าที่จำกัด บุุคลากรทีมสุุขภาพจึงควรมีการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยอย่างเหมาะสม โดยมีการจัดการปัญหาสุุขภาพของผู้ป่วยที่อาจส่งต่อการเพิ่มระยะเวลานอนโรงพยาบาล และเสริมสร้างความมั่นใจในการดููแลของผู้ดููแล เพื่อลดปัญหาความล่าช้าในการจำหน่ายจากโรงพยาบาล
Delayed hospital discharge is a critical issue in health care services affecting ineffective bed management and cost escalation. This cross-sectional survey research determined factors associated with delayed discharges among patients being transferred to the home health care unit. The samples consisted of 231 in-patients having the score on the Modified Barthel Index(MBI)≤ 19 andtheircaregivers(n = 231). The research instruments included the demographic questionnaires of patients and caregivers, the MBI, the Caregiver Confidence Scale, the Family APGAR Questionnaire, and the Healthcare Professional Support Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and binary logistic regression analysis. The results revealed that the following factors had significant correlations to delayed discharge: length of hospital stay, length of stay in the intensive care unit, prolonged respiratory problems, older age of caregivers, insufficient income,unhealthy caregivers, inexperienced caregivers, low confidence of caregivers, low family support, and limited time of discharge planning. Therefore,healthcare professionals should provide appropriate discharge planning for patients to manage any health issues that might prolong their length of stay and enhance caregivers’confidence to decrease the delay in hospital discharge of these patients.
Delayed hospital discharge is a critical issue in health care services affecting ineffective bed management and cost escalation. This cross-sectional survey research determined factors associated with delayed discharges among patients being transferred to the home health care unit. The samples consisted of 231 in-patients having the score on the Modified Barthel Index(MBI)≤ 19 andtheircaregivers(n = 231). The research instruments included the demographic questionnaires of patients and caregivers, the MBI, the Caregiver Confidence Scale, the Family APGAR Questionnaire, and the Healthcare Professional Support Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and binary logistic regression analysis. The results revealed that the following factors had significant correlations to delayed discharge: length of hospital stay, length of stay in the intensive care unit, prolonged respiratory problems, older age of caregivers, insufficient income,unhealthy caregivers, inexperienced caregivers, low confidence of caregivers, low family support, and limited time of discharge planning. Therefore,healthcare professionals should provide appropriate discharge planning for patients to manage any health issues that might prolong their length of stay and enhance caregivers’confidence to decrease the delay in hospital discharge of these patients.