Publication: Risk behavior of sexual health and related factors among adolescent students in Maldives
Issued Date
2012
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.10, No.3 (2012), 31-46
Suggested Citation
Zarana Ibrahim, Santhat Sermsri, Bang-on Thepthien Risk behavior of sexual health and related factors among adolescent students in Maldives. Journal of Public Health and Development. Vol.10, No.3 (2012), 31-46. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1576
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Risk behavior of sexual health and related factors among adolescent students in Maldives
Alternative Title(s)
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศ ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ประเทศมัลดีฟ
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional descriptive study was conducted to reveal the risk behavior of sexual health among
adolescents in Maldives. A questionnaire was administered to 285 students from three main private colleges
in the capital city of the Maldives, Male’. The students were interviewed by an anonymous self-administered
questionnaire from February to March 2012. Analysis was done by frequency analysis, Chi-square tests and
multiple logistic regressions to examine the relationship between personal characteristics, knowledge, attitudes
and risk behaviors of sexual health among adolescents.
The result showed that 42% of the students had high risk behaviors regarding sexual health. 51% of
the students had low knowledge level. Risk behaviors of sexual health were found to have a significant
association with gender, allowance, educational level of the mothers, source of information and attitudes.
Using multiple logistic regression analysis, attitude was found to be strongest predictor of risk behaviors
of sexual health when adjusted for other factors. Students who had negative attitude towards sexual health
were nearly three times to have high risk behavior than those with positive attitude (Adj OR 2.73, CI 95%,
p-value <0.001).
It is recommended that knowledge be improved and positive attitudes encouraged among the adoles- cents. Moreover, relationships between parents and adolescents should be improved. In addition, promotion
of heath education via mass media by providing age appropriate information is highly needed.
การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาตัดขวางนี้เป็นการค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพทางเพศของวัยรุ่นในประเทศ มัลดีฟ กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาคือนักศึกษาจำนวน 285 คน จากมหาวิทยาลัยเอกชนสามแห่งในเมืองหลวงของ ประเทศมัลดีฟ วิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นของการวิจัยครั้งนี้และให้นักศึกษากรอกข้อมูล ระยะ เวลาการเก็บข้อมูลอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม 2555 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยขั้นต้นเป็นการเสนอ ความถี่และร้อยละของตัวแปรในกรอบการศึกษา ส่วนการวิเคราะห์ไค-สแควร์ใช้ในการพิจารณาคู่ความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ กับพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศ ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 42 ของนักศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศ และร้อยละ 51 มีความรู้ด้าน สุขภาพทางเพศในระดับต่ำ สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศคือ ปัจจัยด้านเพศวิถี จำนวนเงินที่ได้รับเป็นรายเดือน ระดับการศึกษาของมารดา แหล่งข้อมูลในเรื่องสุขภาพทางเพศและทัศนคติ ข้อค้น พบหลักคือนักศึกษาที่มีทัศนคติต่ำค่อนข้างมีพฤติกรรมเสี่ยงฯและมักเป็นนักศึกษาชาย ข้อเสนอแนะการศึกษานี้ คือ วัยรุ่นมีความจำเป็นต้องได้รับการสร้างและการพัฒนาทัศนคติสุขภาพทางเพศ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรเพศ ศึกษา การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว จะเป็นแนวทางสำคัญ นอกจากนี้การพัฒนาเนื้อหาเรื่อง เพศศึกษาควรดำเนินการผ่านสื่อที่เหมาะสมและมีเนื้อหาสำหรับวัยรุ่นอายุต่างๆ ที่มีความต้องการต่างกัน
การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาตัดขวางนี้เป็นการค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพทางเพศของวัยรุ่นในประเทศ มัลดีฟ กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาคือนักศึกษาจำนวน 285 คน จากมหาวิทยาลัยเอกชนสามแห่งในเมืองหลวงของ ประเทศมัลดีฟ วิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นของการวิจัยครั้งนี้และให้นักศึกษากรอกข้อมูล ระยะ เวลาการเก็บข้อมูลอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม 2555 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยขั้นต้นเป็นการเสนอ ความถี่และร้อยละของตัวแปรในกรอบการศึกษา ส่วนการวิเคราะห์ไค-สแควร์ใช้ในการพิจารณาคู่ความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ กับพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศ ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 42 ของนักศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศ และร้อยละ 51 มีความรู้ด้าน สุขภาพทางเพศในระดับต่ำ สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพทางเพศคือ ปัจจัยด้านเพศวิถี จำนวนเงินที่ได้รับเป็นรายเดือน ระดับการศึกษาของมารดา แหล่งข้อมูลในเรื่องสุขภาพทางเพศและทัศนคติ ข้อค้น พบหลักคือนักศึกษาที่มีทัศนคติต่ำค่อนข้างมีพฤติกรรมเสี่ยงฯและมักเป็นนักศึกษาชาย ข้อเสนอแนะการศึกษานี้ คือ วัยรุ่นมีความจำเป็นต้องได้รับการสร้างและการพัฒนาทัศนคติสุขภาพทางเพศ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรเพศ ศึกษา การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว จะเป็นแนวทางสำคัญ นอกจากนี้การพัฒนาเนื้อหาเรื่อง เพศศึกษาควรดำเนินการผ่านสื่อที่เหมาะสมและมีเนื้อหาสำหรับวัยรุ่นอายุต่างๆ ที่มีความต้องการต่างกัน