Publication: The perceptions of safe delivery among married women of reproductive age between 20 and 49 years old in Parkgneum district, Vientiane Capital, Lao PDR
Submitted Date
2009-07
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.2 (2009), 13 - 26
Suggested Citation
Khanthong Siharath, Sirikul Isaranurug, ศิริกุล อิศรานุรักษ์, Jiraporn Chompikul, จิราพร ชมพิกุล The perceptions of safe delivery among married women of reproductive age between 20 and 49 years old in Parkgneum district, Vientiane Capital, Lao PDR. Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.2 (2009), 13 - 26. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1626
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The perceptions of safe delivery among married women of reproductive age between 20 and 49 years old in Parkgneum district, Vientiane Capital, Lao PDR
Alternative Title(s)
การรับรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยของสตรีอายุ 20-49 ปีที่แต่งงานแล้ว ในอำเภอปากงึม นครเวียงจันทร์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional study was conducted to determine the perceptions of safe
delivery and their related factors among married women of reproductive age (MWRA)
between 20 and 49 years old living in Parkgneum district, Vientiane Capital, Lao PDR.
The data were collected from January 9 to 30, 2009 by interviewing 160 MWRA
between 20 and 49 years old using a structured questionnaire. Data analysis was
performed by using Descriptive Statistics, Chi-square test and Multiple Logistic
Regression.
The study found that 53.1% of MWRA were aged between 20 and 34 years
old, 70% of them were farmers. Most MWRA had good knowledge about safe
delivery, only 27% of them had poor knowledge about safe delivery. 46% of
respondents were difficult access to health services, 49.4% were difficult access to
safe delivery information and 57.5% of them received good support from their
husbands. Half of respondents had negative perceptions about safe delivery and
the other half had positive perceptions.
The study revealed that MWRA of old age, poor access to safe delivery
information and less husband support were associated with negative perceptions of
safe delivery, OR= 2.2 (95% CI =1.1-4.3), 2.4 (95% CI =1.2-4.6) and 2.4 (95%CI
=1.2-4.8) respectively.
The findings recommended that increasing accessibility to information and
promoting husband’s support are critical to encourage women to access safe delivery
services.
การศึกษาภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัย และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยของสตรีอายุ 20-49 ปี ที่แต่งงานแล้ว จำนวน 160 คน อาศัยอยู่ในอำเภอปากงึม นครเวียงจันทร์ ประเทศสาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 9-30 มกราคม 2552 โดยการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาการทดสอบไคสแคว์ และ Multiple Logistic Regression ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 53.1 มีอายุระหว่าง 20-34 ปี ร้อยละ 70 เป็นเกษตรกร ส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยในเกณฑ์ดี มีเพียงร้อยละ 27 ที่มีความรู้น้อยเกี่ยวกับเรื่องนี้ ร้อยละ 46 มีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการ ร้อยละ 49.4 มีความยากลำยากในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเรื่องการคลอดที่ปลอดภัยและ ร้อยละ 57.5 ได้สนับสนุนที่ดีจากสามี ในเรื่องการคลอดที่ปลอดภัย กลุ่มเป้าหมายครึ่งหนึ่งมีการรับรู้เชิงบวกต่อการคลอดที่ปลอดภัย ส่วนอีกครึ่งหนึ่งมีการรับรู้เชิงลบ พบว่ากลุ่มเป้าหมายที่อายุมาก มีความลำบากในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารด้านการคลอดที่ปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนจากสามีน้อย มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยเชิงลบ โดยมีค่า OR= 2.2(95% CI = 1.1 - 4.3),2.4(95% CI = 1.2 - 4.6)และ 2.4(95% CI = 1.2 - 4.8)ตามลำดับ ดังนั้น การเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านการคลอดที่ปลอดภัยและส่งเสริมการได้รับการสนับสนุนจากสามี เป็นสิ่งสำคัญในกระตุ้นให้สตรีเข้าถึงการคลอดที่ปลอดภัย
การศึกษาภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัย และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยของสตรีอายุ 20-49 ปี ที่แต่งงานแล้ว จำนวน 160 คน อาศัยอยู่ในอำเภอปากงึม นครเวียงจันทร์ ประเทศสาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 9-30 มกราคม 2552 โดยการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาการทดสอบไคสแคว์ และ Multiple Logistic Regression ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 53.1 มีอายุระหว่าง 20-34 ปี ร้อยละ 70 เป็นเกษตรกร ส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยในเกณฑ์ดี มีเพียงร้อยละ 27 ที่มีความรู้น้อยเกี่ยวกับเรื่องนี้ ร้อยละ 46 มีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการ ร้อยละ 49.4 มีความยากลำยากในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเรื่องการคลอดที่ปลอดภัยและ ร้อยละ 57.5 ได้สนับสนุนที่ดีจากสามี ในเรื่องการคลอดที่ปลอดภัย กลุ่มเป้าหมายครึ่งหนึ่งมีการรับรู้เชิงบวกต่อการคลอดที่ปลอดภัย ส่วนอีกครึ่งหนึ่งมีการรับรู้เชิงลบ พบว่ากลุ่มเป้าหมายที่อายุมาก มีความลำบากในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารด้านการคลอดที่ปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนจากสามีน้อย มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับการคลอดที่ปลอดภัยเชิงลบ โดยมีค่า OR= 2.2(95% CI = 1.1 - 4.3),2.4(95% CI = 1.2 - 4.6)และ 2.4(95% CI = 1.2 - 4.8)ตามลำดับ ดังนั้น การเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านการคลอดที่ปลอดภัยและส่งเสริมการได้รับการสนับสนุนจากสามี เป็นสิ่งสำคัญในกระตุ้นให้สตรีเข้าถึงการคลอดที่ปลอดภัย