Publication:
การประเมินความปวดและพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออกหลังผ่าตัดที่ห้องพักฟื้น

dc.contributor.authorลลิดา อาชานานุภาพen_US
dc.contributor.authorรุ้งจิต เติมศิริกุลชัยen_US
dc.contributor.authorLalida Achananuparpen_US
dc.contributor.authorRungchit Thermsirikunchaien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์. งานการพยาบาลผ่าตัดen_US
dc.date.accessioned2020-02-20T06:24:16Z
dc.date.available2020-02-20T06:24:16Z
dc.date.created2563-02-20
dc.date.issued2552
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การตอบคำถามการประเมินความ ปวดด้วยตนเองแบบง่ายโดยใช้กลุ่มคำอธิบาย และมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข ในผู้ป่วยหลัง ได้ยาระงับความรู้สึกทั่วไป ที่มีความรู้สึกตัวระดับ 1 และ 2 ตามเกณฑ์ของ Aldrete’s score 2) ระดับความรุนแรงของความปวด และ 3) พฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออกเมื่อมีความปวด กลุ่ม ตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วไปขณะพักในห้องพักฟื้นศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 200 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เก็บข้อมูลจากเวชระเบียน และการประเมินอาการของผู้ป่วยโดยใช้เครื่องมือประเมินความปวด แบบง่ายโดยใช้กลุ่มคำอธิบายและมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่าง หลังผ่าตัดที่มีความรู้สึกตัวระดับ 1 ตอบคำถามการประเมินความปวดด้วยตนเองแบบง่ายโดยใช้ กลุ่มคำอธิบายและมาตรวัดความปวดแบบตัวเลขได้ร้อยละ 100 และร้อยละ 62.5 ตามลำดับ เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกตัวระดับ 2 สามารถตอบคำถามการประเมินความปวดด้วยตนเอง แบบง่ายโดยใช้กลุ่มคำอธิบาย และมาตรวัดความปวดแบบตัวเลขได้ร้อยละ 100 และร้อยละ 97.5 ตามลำดับ 2) ระดับความรุนแรงของความปวด ส่วนใหญ่มีความปวดรุนแรงระดับปานกลาง ถึงมากที่สุด จากการประเมินความปวดด้วยตนเองแบบง่ายโดยใช้กลุ่มคำอธิบายพบร้อยละ 63.4 และมาตรวัดความปวดแบบตัวเลขพบร้อยละ 50 ในผู้ป่วยที่มีความรู้สึกตัวระดับ 1 สำหรับผู้ป่วย ที่มีความรู้สึกตัวระดับ 2 พบร้อยละ 73 และ 78.5 ตามลำดับ 3) พฤติกรรมที่แสดงออกเมื่อมี ความปวด ส่วนใหญ่เป็นการแสดงออกทางสีหน้าและการเคลื่อนไหวของร่างกาย ได้แก่ การนอน นิ่งๆ สีหน้าผ่อนคลาย และหน้านิ่วคิ้วขมวด นอกจากนี้ แม้ว่ากลุ่มตัวอย่างหลังผ่าตัดจะรู้สึกตัวดี โดยมีความรู้สึกตัวระดับ 2 สามารถตอบคำถามการประเมินความปวดด้วยมาตรวัดความปวด แบบตัวเลขได้เป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 97.5) แต่พบว่าร้อยละ 2.5 ไม่สามารถตอบคำถามการ ประเมินได้ ดังนั้น การประเมินความปวดหลังผ่าตัดควรใช้วิธีการประเมินหลายวิธีร่วมกันจึงจะ ทำให้การประเมินความปวดได้ครอบคลุมและถูกต้องกับสภาพจริงของผู้ป่วยมากที่สุดen_US
dc.description.abstractThe purposes of this descriptive study were to examine: 1) the response to pain assessment using the Verbal Rating Scale (VRS) and the Numerical Rating Scale (NRS) in postoperative patients with consciousness Level 1 and Level 2 categorized by Aldrete’ s score, 2) pain intensity, and 3) behaviors of patients experiencing pain. The sample consisted of 200 postoperative patients with general anesthesia at the recovery room, Ramathibodi Hospital. They were selected by purposive sampling. Data were collected from medical record and pain assessment using the Verbal Rating Scale and the Numerical Rating Scale. The study revealed that: 1) the percentage of the postoperative patients with consciousness Level 1 who were able to rate their pain intensity by using the VRS and NRS method was 100% and 62.5 %, respectively, and the percentage of the postoperative patients with consciousness Level 2 who were able to rate their pain intensity by using the VRS and NRS method was 62.5% and 97.5%, respectively, 2) the majority of the patients rated the pain intensity from moderate to severe with 63.4% using the VRS and 50% using the NRS method among those with consciousness Level 1, while those with consciousness Level 2 rated their pain on the VRS and NRS as 73% and 78.5%, respectively, and 3) behaviors frequently found in patients experiencing pain were facial expression and body movement followed by folrued lying quietly, relaxed facial expression and grimace/frown. However, the majority (97.5%) of the patients with consciousness Level 2 was able to rate their pain intensity by using the NRS method, but 2.5% of the patients was unable to rate their pain intensity. Therefore, to accurately assess pain in postoperative patients, a combination of the pain assessment methods is required.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2552), 315-326en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/52541
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderงานการพยาบาลผ่าตัด ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความปวดen_US
dc.subjectการประเมินความปวดหลังผ่าตัดen_US
dc.subjectการประเมินความปวดโดยใช้en_US
dc.subjectกลุ่มคำอธิบายen_US
dc.subjectมาตรวัดความปวดแบบตัวเลขen_US
dc.subjectห้องพักฟื้นen_US
dc.subjectPainen_US
dc.subjectPostoperative pain assessmenten_US
dc.subjectVerbal Rating Scaleen_US
dc.subjectNumerical Rating Scaleen_US
dc.subjectRecovery roomen_US
dc.titleการประเมินความปวดและพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออกหลังผ่าตัดที่ห้องพักฟื้นen_US
dc.title.alternativePain Assessment and Behavior Responded to Pain of Postoperative Patients in Recovery Roomen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-lalida-2552.pdf
Size:
334.56 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections