Publication:
ความต้านทานต่อการแตกหักของฟันที่รักษาคลองรากและบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดบ่มตัวด้วยแสงร่วมกับปฏิกิริยาเคมีในคลองรากที่ระดับความลึกต่างกัน

dc.contributor.authorปิยาภรณ์ คู่ศรีสมทรัพย์en_US
dc.contributor.authorPiyaporn Kusrisomsupen_US
dc.contributor.authorนาฏยา วงษ์ปานen_US
dc.contributor.authorNataya Vongphanen_US
dc.contributor.authorอมรา ม่วงมิ่งสุขen_US
dc.contributor.authorAmara Muangmingsuken_US
dc.contributor.authorพิศลย์ เสนาวงษ์en_US
dc.contributor.authorPisol Senawongseen_US
dc.contributor.correspondenceนาฏยา วงษ์ปานen_US
dc.contributor.correspondenceNataya Vongphanen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์en_US
dc.contributor.otherMahidol University. Faculty of Dentistry. Thai Board of Endodontics Faculty of Dentistryen_US
dc.contributor.otherMahidol University. Faculty of Dentistry. Thai Board of Operatve Dentistryen_US
dc.date.accessioned2015-01-28T08:53:40Z
dc.date.accessioned2017-01-05T08:25:02Z
dc.date.available2015-01-28T08:53:40Z
dc.date.available2017-01-05T08:25:02Z
dc.date.created2015-01-05
dc.date.issued2014-01
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: ศึกษาเปรียบเทียบค่าแรงต้านทานการแตกหักของฟันที่ได้รับการรักษาคลองรักฟันและบูรณะด้วยวัสดุทำแกนชนิดเรซินคอมโพสิตชนิดบ่มตัวด้วยแสงร่วมกับปฏิกิริยาเคมีในคลองรากฟันที่ระดับความลึกที่แตกต่างกัน วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: ฟันกรามน้อยล่างมนุษย์จำนวน 40 ซี่ นำมารักษาคลองรากและเตรียมโพรงฟันด้านใกล้กลาง-ด้านบดเคี้ยว-ด้านไกลกลาง(MOD) แบ่งฟันออกเป็น 4 กลุ่ม ทำการเตรียมช่องว่างสำหรับเดือยฟันตามความลึกของกัตตเปอร์ชาที่ตัดไว้ ดังนี้ กลุ่มที่ 1: (กลุ่มควบคุม)ตัดกัตตาเปอร์ชาในคลองรากถึงระดับรอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟัน กลุ่มที่ 2: ตัดกัตตาเปอร์ชาต่ำจากรอยต่อเคลือบรากฟัน 3 มิลิเมตร กลุ่มที่ 3: ตัดกัตตาเปอร์ชาต่ำจากรอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟันเท่ากับครึ่งหนึ่งของระยะจากยอดปุ่มฟันด้านแก้มถึงตำแหน่งต่ำกว่ารอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟัน 3 มิลลิเมตร และ กลุ่มที่ 4: ตัดกัตตาเปอร์ชาต่ำจากรอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟันเท่ากับความสูงตัวฟันการบูรณะโพรงฟันและช่องว่างสำหรับเดือยฟันด้วยเรซินคอมโพสิตมัลติคอร์โฟล จากนั้นนำไปทดสอบความต้านทานการแตกหักโดยวัดค่าแรงกดอัดด้วยเครื่องทดสอบแรงสากล นำค่าแรงที่ทำให้เกิดการแตกหักไปวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวร่วมกับการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูกีย์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0..5 ผลการศึกษา: ฟันกลุ่มควบคุมที่ทำการบูรระด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิตถึงระดับรอยต่อของเคลือบฟันและเคลือบรากฟันมีค่าความต้านทานการแตกหักน้อยกว่ากลุ่มบูรณะอื่นๆอย่ามีนัยสำคัญทางสถิติ (p 0.05) และไม่พบความแตกต่างทางสถิติระหว่างกลุ่มที่บูรณะด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิตลงในคลองรากฟันที่ระดับต่ำกว่ารอยต่อของเคลือบรากฟันในระดับความลึกต่างๆกัน (p>0.05) ส่วนรูปแบบการแตกหักของฟันทุกกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p>0.05) บทสรุป: การบูรณะฟันด้วยวัสดุเรซินคอมโพสิตในฟันที่ผ่านการรักษาคลองราก จะมีความต้านทานต่อการแตกหักสูงขึ้นเมื่อทำการบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตลงในคลองรากฟันที่ระดับต่ำกว่ารอยต่อเคลือบฟันและเคลือบรากฟันen_US
dc.description.abstractObjective: The objective of this study was to compare the fracture resistance of endodontically treated teeth restored with a dual-cured resin composite core material within the root canal at different depths. Materials and methods: Endodontic treatment and MOD preparations were performed on forty extracted human mandibular premolars. The teeth were randomly assigned into four groups. The post spaces were prepared according to the level of gutta percha removal as followed: Group 1 (control group): at the level of CEJ. Group 2: at the depth of 3 mm below the CEJ. Group 3: below CEJ at a half distance from buccal cusp tip to 3 mm under the CEJ level. Group 4: at the distance of crown length below the CEJ. All teeth were then restored with a dual-cured composite resin. The teeth were subjected to a vertical loading in a universal testing machine until the fracture occurred. Data were analyzed by using one-way ANOVA and multiple comparison Tukey’s test (p 0.05). The fracture patterns were examined under surgical microscope. Results: The group that restored to the CEJ (control group) showed the lowest fracture load and significantly lower fracture load than other groups (p 0.05). No statistically significant differences were found among the groups restored within the root canal below the CEJ (p 0.05). There were no significant differences in fracture patterns among the experimental groups (p 0.05). Conclusion: The fracture resistance of the endodontically treated teeth with MOD preparation was significantly increased when restored with the resin composite within the root canal below the CEJ.
dc.identifier.citationปิยาภรณ์ คู่ศรีสมทรัพย์, นาฏยา วงษ์ปาน, อมรา ม่วงมิ่งสุข, พิศลย์ เสนาวงษ์. ความต้านทานต่อการแตกหักของฟันที่รักษาคลองรากและบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดบ่มตัวด้วยแสงร่วมกับปฏิกิริยาเคมีในคลองรากที่ระดับความลึกต่างกัน. ว ทันต มหิดล 2557; 34(1): 28-36.en_US
dc.identifier.issn0125-5614 (printed)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1115
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectDual-cured resin compositeen_US
dc.subjectEndodontically treated teethen_US
dc.subjectFracture resistanceen_US
dc.subjectPost space depthen_US
dc.subjectResin core materialen_US
dc.subjectเรซินคอมโพสิตชนิดบ่มตัวด้วยแสงร่วมกับปฏิกิริยาเคมีen_US
dc.subjectฟันที่รักษาคลองรากฟันen_US
dc.subjectความต้านทานต่อการแตกหักen_US
dc.subjectความลึกของช่องว่างสำหรับเดือยฟันen_US
dc.subjectวัสดุทำแกนฟันชนิดเรซินen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
dc.subjectMahidol Dental Journal
dc.titleความต้านทานต่อการแตกหักของฟันที่รักษาคลองรากและบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตชนิดบ่มตัวด้วยแสงร่วมกับปฏิกิริยาเคมีในคลองรากที่ระดับความลึกต่างกันen_US
dc.title.alternativeFracture resistance of endodontically treated teeth restored with dual-cured resin composite within root canal at different depths.en_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.dateAccepted2012-10-09
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.dt.mahidol.ac.th/division/offeducation/education_1_6/wittayasarn/34-2557/DentalJ_34-1.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
dt-ar-nataya-2014.pdf
Size:
336.42 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections