Publication: Cephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages.
Accepted Date
2011-12-16
Issued Date
2011-09
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Dentistry Mahidol University
Bibliographic Citation
Chiewcharat P, Luppanapornlarp S, Boonpratham S, Putongkam P. Cephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages. M Dent J. 2011; 31(3): 121-32.
Suggested Citation
Penprapa Chiewcharat, เพ็ญประภา ชิวชรัตน์, Suwannee Luppanapornlarp, สุวรรณี ลัภนะพรลาภ, Supatchai Boonpratham, สุพัฒน์ชัย บุญประถัมภ์, Pongstorn Putongkam, พงศธร พู่ทองคำ Cephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages.. Chiewcharat P, Luppanapornlarp S, Boonpratham S, Putongkam P. Cephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages. M Dent J. 2011; 31(3): 121-32.. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1097
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Cephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages.
Alternative Title(s)
ค่าเซฟาโลเมตริกในผู้ป่วยฟันหน้าสบเปิดที่จัดฟันร่วมกับการใช้และไม่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟัน
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
Objective: The aims of this study were to determine pre- and posttreat
ment of cephalometric measurements in the skeletal anterior open bite
patients with and without mini-implant anchorages (MIAs), and to compare
the measurements between both groups. The hypothesis is that there
are differences of treatment changes between groups.
Materials and methods: A retrospective study was performed in fifteen
skeletal anterior open bite patients. The MIAs were used to intrude molars
in six patients (mean age of 25±8.1 years). Another nine patients (mean
age of 24.3±2.6 years) were treated without MIAs and served as a
control group. Paired t-test and Mann-Whitney U test were used to
determine changes within and between groups, respectively (P<0.05).
Results: There were no significant differences of skeletal and soft tissue
profile changes between the 2 groups, except LL-E plane. For dental
changes, both groups show successful open bite correction with significant
treatment changes of U1-NA, overbite, overjet (P<0.05). It was found that
the upper first molars in the MIAs group were more intruded significantly
when compared with the control group (P<0.05). Upper incisors in the
control group seem to be more extruded but not significantly.
Conclusion: Molar intrusion using MIAs could be another choice of treatment
for skeletal anterior open bite patients with minimal patient cooperation
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้เพื่อประเมินค่าทางเซฟฟาโลเมตริกในผู้ป่วยที่มีโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิดก่อนและหลังการรักาทางทันตกรรมจัดฟันโดยใช้และไม่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟัน และเพื่อเปรียบเทียบ ผลสำเร็จหลังการรักษาระหว่างกลุ่ม โดยตั้งสมมุติฐานว่ามีความแตกต่างกันหลังการรักษาระหว่างสองกลุ่มนี้ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการรักษา: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง โดยกลุ่มศึกษามีลักษณะโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิดตามเกณฑ์ที่กำหนดได้จำนวนทั้งสิ้น 15 คน เป็นกลุ่มนักศึกษาที่ใช้หมุดยึด 6 คน (อายุเฉลี่ย 25±8.1 ปี) และอีก 9 คน เป็นกลุ่มที่ไม่ใช้หมุดยึดโดยจัดเป็นกลุ่มควบคุม (อายุเฉลี่ย 24.3±2.6ปี) ศึกษาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ Paired t-test c]t Mann-Whitney U test (p<0.05) ผลการศึกษา: การศึกษานี้พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของค่าเซฟาโลเมตริกก่อนการรักษาระหว่างกลุ่มที่ ใช้และไม่ใช้หมุดทางทันตกรรมจัดฟัน ยกเว้นค่า LL- E plane นอกจากนี้ทั้งสองกลุ่มสามารถแก้ไขปัญหาการสบเปิดของฟันหน้าโดยมีการเปลี่ยนแปลงของค่า u1 –NA, ค่าการเหลี่ยมแนวดิ่ง (overbite) และค่าการเหลื่อมแนวราบ (overjet) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบค่าก่อนและหลังการรักษา อย่างไรก็ตามพบว่าในกลุ่มที่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันจะมีการกด (intrude) ฟันกรามได้มากกว่าที่ไม่ได้ใช้หมุดยึดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05) และกลุ่มที่ไม่ได้ใช้หมุดยึดจะมีแนวโน้มของการยื่นยาวของฟันหน้าบนมากกว่ากลุ่มที่ใช้หมึดแต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ บทสรุป: การใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันเพื่อการกด (intrude) ฟันกรามสามารถทำได้และเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งในการแก้ไขผู้ป่วยที่มีลักษณะโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิด ซึ่งอาศัยความร่วมมือในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันของผู้ป่วยน้อย
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้เพื่อประเมินค่าทางเซฟฟาโลเมตริกในผู้ป่วยที่มีโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิดก่อนและหลังการรักาทางทันตกรรมจัดฟันโดยใช้และไม่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟัน และเพื่อเปรียบเทียบ ผลสำเร็จหลังการรักษาระหว่างกลุ่ม โดยตั้งสมมุติฐานว่ามีความแตกต่างกันหลังการรักษาระหว่างสองกลุ่มนี้ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการรักษา: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง โดยกลุ่มศึกษามีลักษณะโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิดตามเกณฑ์ที่กำหนดได้จำนวนทั้งสิ้น 15 คน เป็นกลุ่มนักศึกษาที่ใช้หมุดยึด 6 คน (อายุเฉลี่ย 25±8.1 ปี) และอีก 9 คน เป็นกลุ่มที่ไม่ใช้หมุดยึดโดยจัดเป็นกลุ่มควบคุม (อายุเฉลี่ย 24.3±2.6ปี) ศึกษาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ Paired t-test c]t Mann-Whitney U test (p<0.05) ผลการศึกษา: การศึกษานี้พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของค่าเซฟาโลเมตริกก่อนการรักษาระหว่างกลุ่มที่ ใช้และไม่ใช้หมุดทางทันตกรรมจัดฟัน ยกเว้นค่า LL- E plane นอกจากนี้ทั้งสองกลุ่มสามารถแก้ไขปัญหาการสบเปิดของฟันหน้าโดยมีการเปลี่ยนแปลงของค่า u1 –NA, ค่าการเหลี่ยมแนวดิ่ง (overbite) และค่าการเหลื่อมแนวราบ (overjet) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบค่าก่อนและหลังการรักษา อย่างไรก็ตามพบว่าในกลุ่มที่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันจะมีการกด (intrude) ฟันกรามได้มากกว่าที่ไม่ได้ใช้หมุดยึดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05) และกลุ่มที่ไม่ได้ใช้หมุดยึดจะมีแนวโน้มของการยื่นยาวของฟันหน้าบนมากกว่ากลุ่มที่ใช้หมึดแต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ บทสรุป: การใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันเพื่อการกด (intrude) ฟันกรามสามารถทำได้และเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งในการแก้ไขผู้ป่วยที่มีลักษณะโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิด ซึ่งอาศัยความร่วมมือในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันของผู้ป่วยน้อย