Publication: การประเมินผลโปรแกรมประยุกต์ภาพสื่อความหมายสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะ Motor Aphasia บนอุปกรณ์แท็บเล็ต
dc.contributor.author | สามารถ สุขเจริญ | en_US |
dc.contributor.author | เบญจพร ศักดิ์ศิริ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-03-09T06:55:49Z | |
dc.date.available | 2017-03-09T06:55:49Z | |
dc.date.created | 2560-03-09 | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินผลการใช้โปรแกรมประยุกต์ภาพสื่อความ หมายสำหรับผู้ปุวยที่มีภาวะ Motor Aphasia บนอุปกรณ์แท็บเล็ตซึ่งเป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อความหมายระหว่างผู้ปุวย ญาติ ผู้ดูแล และทีมสหวิชาชีพ โดยการวิจัยนี้มีผู้เข้าร่วมการวิจัยจำนวน 50 คน เป็นเพศชาย 41 คนและเพศหญิง 9 คน อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป ผลการวิจัยพบว่าผู้เข้าร่วมการวิจัยร้อยละ 76.0 สามารถใช้โปรแกรมภาพสื่อความหมายสื่อสารได้ และมีผู้เข้าร่วมวิจัยร้อยละ 24.0 ที่ไม่สามารถใช้โปรแกรมภาพสื่อความหมายสื่อสารได้ แต่ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มนี้สามารถสื่อสารกับผู้อื่นโดยการพยักหน้าหรือส่ายหน้าสำหรับการตอบรับหรือปฏิเสธตามลำดับ โดยเวลาเฉลี่ยในการชี้ภาพตอบคำถามเท่ากับ 2.26 วินาที และผู้เข้าร่วมการวิจัยมีระดับความพึงพอใจโดยรวมต่ออุปกรณ์แท็บเล็ตอยู่ในระดับมาก และส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าอุปกรณ์แท็บเล็ตและซอฟต์แวร์มีความเหมาะสม | en_US |
dc.description.abstract | This study aimed to evaluate an application program of meaningful pictures communication on a tablet for people with motor aphasia. The program was developed to assist in interpretation between patients, caregivers and a multidisciplinary team. This research involved 50 participants (male 41, female 9) aged over 30 years. The results showed that 76% of participants could use the program to communicate, however 24.0 % of participants could not use the program. Participants that could not use the program to communicate were able to communicate by other by non verbal means such as a nod or a shake of head for acceptance or rejection , respectively. The average time to answer questions was 2.26 seconds. Overall satisfaction with the device and the software is level quite satisfied. Equipment and software are appropriate is mainly. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 9, ฉบับที่ 12 (2556), 35-49 | en_US |
dc.identifier.issn | 1686-6959 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1343 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วยที่มีภาวะ Motor Aphasia | en_US |
dc.subject | แท็บเล็ต | en_US |
dc.subject | Motor Aphasia | en_US |
dc.subject | tablet | en_US |
dc.subject | Open Access article | |
dc.subject | วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ | |
dc.subject | Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities | |
dc.title | การประเมินผลโปรแกรมประยุกต์ภาพสื่อความหมายสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะ Motor Aphasia บนอุปกรณ์แท็บเล็ต | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of Application Program of Meaningful Pictures Communication on a Tablet for People with Motor Aphasia | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |