Publication:
แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน: กรณีการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorจิณณภักดิ์ ศรีศิลารักษ์en_US
dc.contributor.authorChinnapak Srisilaruxen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายทรัพย์สินและพัสดุen_US
dc.date.accessioned2020-06-04T08:14:45Z
dc.date.available2020-06-04T08:14:45Z
dc.date.created2563-06-04
dc.date.issued2563
dc.description.abstractปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในการจัดซื้อจัดจ้างถือเป็นการคอร์รัปชันประเภทหนึ่ง เนื่องจากเป็นการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนบุคคลโดยการละเมิดกฎหมายและจริยธรรม การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐต้องดำเนินการด้วยความระมัดระวัง ละเอียดรอบคอบ ซื่อสัตย์ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริต และประพฤติมิชอบที่เกิดจากการจัดซื้อจัดจ้าง การมีผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งอาจเป็นการละเมิดต่อกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ ในการใช้ตำแหน่งหน้าที่แทรกแซงในกระบวนการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทำให้ขาดความเป็นกลาง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและพวกพ้องมากกว่าประโยชน์ของหน่วยงาน ปัจจัยที่อาจทำให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมอันถือเป็นการกระทำทุจริตคอร์รัปชั่น แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ระเบียบ และประกาศที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ศึกษาแนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และ 3) ให้ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภายในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลรับรู้ มีจิตสำนึกในหน้าที่ที่จะปกป้องผลประโยชน์ส่วนรวมของคณะฯ มากกว่าประโยชน์ส่วนตน และหลีกเลี่ยงลักษณะของความขัดแย้งทางผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ของหน่วยงาน อันเป็นการป้องกันการทุจริต และดำเนินการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส สุจริต และเป็นประโยชน์ต่อประชาชน และองค์กรอย่างแท้จริง สรุปผลสำคัญคือ 1) นาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทับซ้อนการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล มาปฏิบัติให้สอดคล้องกัน 2) หน่วยงานอื่นสามารถนำแนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลไปประยุกต์ใช้ 3) ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภายในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลรับรู้ มีจิตสำนึกในหน้าที่ที่จะปกป้องผลประโยชน์ส่วนรวมของคณะฯ มากกว่าประโยชน์ส่วนตน และหลีกเลี่ยงลักษณะของความขัดแย้งทางผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ของหน่วยงาน อันเป็นการป้องกันการทุจริต และดำเนินการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส สุจริต และเป็นประโยชน์ต่อประชาชน และองค์กรอย่างแท้จริงen_US
dc.description.abstractConflict of interest in procurement is considered to be a kind of corruption because it involves seeking personal benefits by breaking the law and violating the code of conduct. Government procurement must be carried out with extreme care and transparency. Most importantly, every process must be inspectable in order to prevent any corruption in procurement. The exploitation of benefit from government purchasing might violate laws and related regulations, the misuse of power or official misconduct leads to unfairness in the process and finally provides both direct and indirect benefits to a particular group or even their own party. This kind of act is considered a threat to the nation. The prevention of conflict of interests in the Faculty of Medicine, Siriraj Hospital’s procurement could be accomplished in order to 1) Study the theory involved in laws and related regulations about conflict of interest in procurement 2) Study the approach to prevent the conflict of interest in procurement and 3) Committee and officials, who are in charge of the procurement should be reminded of their duty to protect the benefits of the Faculty rather than their own benefit. By doing this, the corruption would be prevented and the officials would process their duty with honesty for the benefits of the people and the organization. In conclusion: 1) Implement laws and regulations concerning conflict of interest in procurement that are consistently practiced 2) Other organizations can adopt this theory to their own purposes 3) Committees and officials, who are in charge of the procurement, should be aware and be conscientious of protecting the benefits of the Faculty rather than their own benefit, and also avoid all the related conflicts of interest in order to provide true benefits for the people and the organization. Keywords: Conflict of Interest/ Procurement/ Preventive Measuresen_US
dc.identifier.citationวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 7, (ม.ค.-มิ.ย. 2563), 1-11en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56369
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผลประโยชน์ทับซ้อนen_US
dc.subjectการจัดซื้อจัดจ้างen_US
dc.subjectแนวทางการป้องกันen_US
dc.subjectConflict of Interesten_US
dc.subjectProcurementen_US
dc.subjectPreventive Measuresen_US
dc.subjectJournal of Professional Routine to Researchen_US
dc.titleแนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน: กรณีการจัดซื้อจัดจ้างของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeGuidelines on the Prevention for Conflict of Interests in Public Procurement: A Case Study of Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol Universityen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/jpr2r/article/view/179064en_US

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
si-ar-chinnapa-2563.pdf
Size:
1.96 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections