Publication: Factors related to the Acceptance of the New Antenatal Care Protocol among the Health Personnel in Suphan Buri Province, Thailand
Issued Date
2007
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.5, No.2 (2007), 1-10
Suggested Citation
Trin Tuyet Anh, Sirikul Isaranuruk, Jiraporn Chompikul Factors related to the Acceptance of the New Antenatal Care Protocol among the Health Personnel in Suphan Buri Province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.5, No.2 (2007), 1-10. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1565
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors related to the Acceptance of the New Antenatal Care Protocol among the Health Personnel in Suphan Buri Province, Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับฝากครรภ์แนวใหม่ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional study was conducted to determine the factors related to the acceptance of the new
antenatal care (ANC) protocol proposed by WHO among the health personnel in Suphan Buri province.
The sample consisted of 1?9 personnel who were working in ANC field in this province. Data were
collected from ?th January to 29th January 2OO7 by using self-administered questionnaires accompanied
with the comparison form between the new protocol and the conventional one. Data analysis was performed
using Pearson's Product Moment Correlation, Chi-Square test and Multiple regression analysis using Stepwise
procedure.
The study revealed that 63.9% of the health personnel accepted the new ANC protocol. The attitude
towards the new ANC protocol, the facility availability, the supporting policy and the peer opinions were
found to be significantly associated with the acceptance of the new ANC protocol among health personnel
(p-value < 0.05). The regression model with these four factors could explain the change of the acceptance
of the new antenatal care protocol among health personnel tp to 64'8%.
These findings suggested that health administrators should provide the health personnel with information, trainings about the new ANC protocol as well as have supporting policy and adequate facility
availability. The four factors mentioned above would be critical factors to be considered for implementing
the new ANC protocol.
การศึกษาภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในจังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในคลินิกฝากครรภ์ทุกแห่ง จำนวน 179 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเองในระหว่างวันที่ 7 ถึง 29 มกราคม 2550 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ Pearson’s Product Moment Correlation, Chi-Square test และ Stepwise Multiple Regression ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร้อยละ 63.9 ให้การยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับ ได้แก่ ทัศนคติเชิงบวกต่อการฝากครรภ์แนวใหม่ ความพร้อมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการให้บริการ นโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และความเห็นเชิงบวกของเพื่อนร่วมงาน (P-value < 0.05) และจาก Regression model พบว่าทั้ง 4 ปัจจัย ดังกล่าวสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของการยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ได้ถึงร้อยละ 64.8 ผลการศึกษาให้ข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับการฝากครรภ์แนวใหม่แก่บุคลากร จัดการฝึกอบรม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ และกำหนดนโยบายที่ชัดเจน พร้อมสนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ 4 ประการ ดังกล่าวเป็นเงื่อนไขที่สำคัญในการดำเนินงานการฝากครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก
การศึกษาภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในจังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในคลินิกฝากครรภ์ทุกแห่ง จำนวน 179 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเองในระหว่างวันที่ 7 ถึง 29 มกราคม 2550 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ Pearson’s Product Moment Correlation, Chi-Square test และ Stepwise Multiple Regression ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร้อยละ 63.9 ให้การยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับ ได้แก่ ทัศนคติเชิงบวกต่อการฝากครรภ์แนวใหม่ ความพร้อมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการให้บริการ นโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และความเห็นเชิงบวกของเพื่อนร่วมงาน (P-value < 0.05) และจาก Regression model พบว่าทั้ง 4 ปัจจัย ดังกล่าวสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของการยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ได้ถึงร้อยละ 64.8 ผลการศึกษาให้ข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับการฝากครรภ์แนวใหม่แก่บุคลากร จัดการฝึกอบรม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ และกำหนดนโยบายที่ชัดเจน พร้อมสนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการฝากครรภ์แนวใหม่ 4 ประการ ดังกล่าวเป็นเงื่อนไขที่สำคัญในการดำเนินงานการฝากครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก