Publication: Strengthening self-help and mutual aid in Japan’s community-based integrated care system based on the Thai health policy for the elderly
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
National Center for Global Health and Medicine National College of Nursing
Department of Global Health University of Ryukyus
Bureau of International Health Cooperation National Center for Global Health and Medicine
Graduate School of Public Health Teikyo University
National Center for Global Health and Medicine National College of Nursing
Department of Global Health University of Ryukyus
Bureau of International Health Cooperation National Center for Global Health and Medicine
Graduate School of Public Health Teikyo University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.17, No.2 (May-Aug 2019), 115-129
Suggested Citation
Kyoko Sudo, Jun Kobayashi, Shinichiro Noda, Jiraporn Chompikul, Yoshiharu Fukuda, Kenzo Takahashi, เคียวโก๊ะ ซูโด๊ะ, จูน โคบายาชิ, ชินนิชิโร๊ะ โนด๊ะ, จิราพร ชมพิกุล, โยชิฮารุ ฟุกุดะ, เคนโซ๊ะ ทากาฮาชิ Strengthening self-help and mutual aid in Japan’s community-based integrated care system based on the Thai health policy for the elderly. Journal of Public Health and Development. Vol.17, No.2 (May-Aug 2019), 115-129. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62138
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Strengthening self-help and mutual aid in Japan’s community-based integrated care system based on the Thai health policy for the elderly
Alternative Title(s)
การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านความช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในระบบการดูแลแบบบูรณาการในชุมชนของประเทศญี่ปุ่นตามนโยบาย สุขภาพของประเทศไทยสำหรับผู้สูงอายุ
Other Contributor(s)
Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development
National College of Nursing. National Center for Global Health and Medicine
University of Ryukyus. Department of Global Health
National Center for Global Health and Medicine. Bureau of International Health Cooperation,
Teikyo University. Graduate School of Public Health
National College of Nursing. National Center for Global Health and Medicine
University of Ryukyus. Department of Global Health
National Center for Global Health and Medicine. Bureau of International Health Cooperation,
Teikyo University. Graduate School of Public Health
Abstract
Aging is a global issue not especially in the developed world. Governments of both developed and developing
countries struggle with the financial burdens of aging populations. The Japanese government is implementing the
Community-based Integrated Care System (CbICS) for elderly individuals to provide comprehensive up-to-end-of-life
support services in communities. This system proposes four elements: self-help (Ji-jo), mutual aid (Go-jo), social
solidarity care (Kyo-jo), and government care (Ko-jo); self-help and mutual aid are expected to be strengthened for
successful policy implementation. Thailand, with the highest aging rate in Southeast Asia, has a successful system based
on primary health care (PHC). The authors discussed ideas from the Thai health policy for the elderly to address the
challenges in the Japanese system. For a data collection method, the authors conducted document reviews. Interviews
with officers from the relevant ministries were conducted to verify the evidence to strengthen self-help and mutual
aid in Japan’s CbICS. Factors promoting the implementation of the Thai health policy for the elderly were extracted.
Aging issues were influenced by the national strategy. The second National Plan for Older Persons focused on
community-based care services following the PHC concept and tried to implement them comprehensively along
with the ministries.
The factors promoting the implementation of the Thai health policy for the elderly included “Clear and adequate
government role distribution”, “Decentralization and authority of local governments”, “Earlier preparation”,
“Empowerment and encouragement of preventive activities in the community”, “Evaluation system”, “Evidence-based”,
“Fit for global concepts and national issues”, “Involvement of stakeholders”, and “Solutions to fragmentation”.
The results indicated that the Thai health policy for the elderly was characterized by a strong central government,
with emphasis on well-being and the prevention of diseases, and involvement of multiple ministries. Japan’s CbICS
could provide more effective services when community activities adopt Thailand’s community-based elderly care.
Relevant ministries should be more integrated for better service provision, and Japan’s PHC concept should be
reconsidered for application to its peculiar situation.
ความชราเป็นปัญหาระดับโลกไม่แต่เฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้ว รัฐบาลของประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาต่อสู้กับภาระทางการเงินของประชากรสูงอายุ รัฐบาลญี่ปุ่นกำลังใช้ระบบการดูแลแบบบูรณาการสำหรับผู้สูงอายุในการให้บริการช่วยเหลือที่ครบวงจรในชุมชน ระบบนี้เสนอองค์ประกอบสี่ประการ การช่วยเหลือตนเอง การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การดูแลความเป็นปึกแผ่นทางสังคม และการดูแลของรัฐบาล การช่วยเหลือตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันนั้นคาดว่าจะได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งสำหรับการดำเนินนโยบายที่ประสบความสำเร็จ ประเทศไทยซึ่งมีอัตราการชราภาพสูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งมีระบบที่ประสบความสำเร็จบนพื้นฐานของการสาธารณสุขมูลฐาน ผู้เขียนได้อภิปรายแนวคิดจากนโยบายสุขภาพของไทยสำหรับ ผู้สูงอายุในการรับมือกับความท้าทายในระบบของญี่ปุ่น สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้เขียนได้ดำเนินการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง และยังได้สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่จากกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันแบบบูรณาการในชุมชนของญี่ปุ่น ยุทธศาสตร์ระดับชาติได้ครอบคลุมปัญหาด้านความชราภาพ แผนระดับชาติฉบับที่สองสำหรับผู้สูงอายุไทยมุ่งเน้นไปที่บริการการดูแลในชุมชนตามแนวคิดของสาธารณสุขมูลฐาน และพยายามนำไปใช้อย่างครอบคลุมพร้อมกับกระทรวงต่างๆ ปัจจัยที่ส่งเสริมการดำเนินการตามนโยบายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุไทย ได้แก่ การกระจายอำนาจและบทบาทของรัฐบาลที่ชัดเจนและเหมาะสม การกระจายอำนาจและอำนาจของรัฐบาลท้องถิ่น การเตรียมการล่วงหน้า การเสริมพลังและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันโรคในชุมชน ระบบการประเมิน บนพื้นฐานการใช้หลักฐาน เหมาะสำหรับแนวคิดระดับโลกและปัญหาระดับชาติ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และวิธีแก้ปัญหาการกระจายตัว ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่านโยบายสุขภาพของไทยสำหรับผู้สูงอายุนั้นโดดเด่นด้วยรัฐบาลกลางที่เข้มแข็งโดยให้ความสำคัญกับความเป็นอยู่ที่ดีและการป้องกันโรคและการมีส่วนร่วมของหลายกระทรวง ระบบการดูแลแบบบูรณาการสำหรับผู้สูงอายุของรัฐบาลญี่ปุ่นจะสามารถให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อกิจกรรมชุมชนได้นำการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของประเทศไทยมาประยุกต์ใช้ด้วย กระทรวงที่เกี่ยวข้องควรบูรณาการเข้าด้วยกันมากขึ้นเพื่อให้การบริการที่ดีขึ้น และแนวคิดด้านการสาธารณสุขมูลฐานของญี่ปุ่นควรได้รับการพิจารณาทบทวนใหม่เพื่อการประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ที่แปลก แตกต่างออกไป
ความชราเป็นปัญหาระดับโลกไม่แต่เฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้ว รัฐบาลของประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาต่อสู้กับภาระทางการเงินของประชากรสูงอายุ รัฐบาลญี่ปุ่นกำลังใช้ระบบการดูแลแบบบูรณาการสำหรับผู้สูงอายุในการให้บริการช่วยเหลือที่ครบวงจรในชุมชน ระบบนี้เสนอองค์ประกอบสี่ประการ การช่วยเหลือตนเอง การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การดูแลความเป็นปึกแผ่นทางสังคม และการดูแลของรัฐบาล การช่วยเหลือตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันนั้นคาดว่าจะได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งสำหรับการดำเนินนโยบายที่ประสบความสำเร็จ ประเทศไทยซึ่งมีอัตราการชราภาพสูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งมีระบบที่ประสบความสำเร็จบนพื้นฐานของการสาธารณสุขมูลฐาน ผู้เขียนได้อภิปรายแนวคิดจากนโยบายสุขภาพของไทยสำหรับ ผู้สูงอายุในการรับมือกับความท้าทายในระบบของญี่ปุ่น สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้เขียนได้ดำเนินการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง และยังได้สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่จากกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันแบบบูรณาการในชุมชนของญี่ปุ่น ยุทธศาสตร์ระดับชาติได้ครอบคลุมปัญหาด้านความชราภาพ แผนระดับชาติฉบับที่สองสำหรับผู้สูงอายุไทยมุ่งเน้นไปที่บริการการดูแลในชุมชนตามแนวคิดของสาธารณสุขมูลฐาน และพยายามนำไปใช้อย่างครอบคลุมพร้อมกับกระทรวงต่างๆ ปัจจัยที่ส่งเสริมการดำเนินการตามนโยบายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุไทย ได้แก่ การกระจายอำนาจและบทบาทของรัฐบาลที่ชัดเจนและเหมาะสม การกระจายอำนาจและอำนาจของรัฐบาลท้องถิ่น การเตรียมการล่วงหน้า การเสริมพลังและสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันโรคในชุมชน ระบบการประเมิน บนพื้นฐานการใช้หลักฐาน เหมาะสำหรับแนวคิดระดับโลกและปัญหาระดับชาติ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และวิธีแก้ปัญหาการกระจายตัว ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่านโยบายสุขภาพของไทยสำหรับผู้สูงอายุนั้นโดดเด่นด้วยรัฐบาลกลางที่เข้มแข็งโดยให้ความสำคัญกับความเป็นอยู่ที่ดีและการป้องกันโรคและการมีส่วนร่วมของหลายกระทรวง ระบบการดูแลแบบบูรณาการสำหรับผู้สูงอายุของรัฐบาลญี่ปุ่นจะสามารถให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อกิจกรรมชุมชนได้นำการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของประเทศไทยมาประยุกต์ใช้ด้วย กระทรวงที่เกี่ยวข้องควรบูรณาการเข้าด้วยกันมากขึ้นเพื่อให้การบริการที่ดีขึ้น และแนวคิดด้านการสาธารณสุขมูลฐานของญี่ปุ่นควรได้รับการพิจารณาทบทวนใหม่เพื่อการประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ที่แปลก แตกต่างออกไป