Publication:
ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแรนสามสิบต่อพฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวาน ดัชนีมวลกาย และค่าน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วของผู้ที่เสี่ยงต่อเบาหวาน

dc.contributor.authorสุพิชญา หวังปิติพาณิชย์en_US
dc.contributor.authorแสงทอง ธีระทองคำen_US
dc.contributor.authorมะลิวัลย์ ภาคพยัคฆ์en_US
dc.contributor.authorSupichaya Wangpitipaniten_US
dc.contributor.authorSangthong Terathongkumen_US
dc.contributor.authorMaliwan Pakpayaken_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2019-10-22T09:54:42Z
dc.date.available2019-10-22T09:54:42Z
dc.date.created2562-10-22
dc.date.issued2560
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแรนสามสิบต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน ดัชนีมวลกาย และค่าน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่เสี่ยงต่อเบาหวานชนิดที่2ถูกเลือกแบบเจาะจง ตามเกณฑ์คัดเข้าจำนวน 30 รายได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแรนสามสิบ (RANS30) ซึ่งตัว R คือ ความแข็งแกร่ง A คือ ความกล้าคิด N คือ จิตอาสา S คือ พัฒนาตนให้รอบรู้สู่การเป็น ผู้นำทางวิชาการ และทำงานอย่างมืออาชีพและ 30 คือ การออกกำลังกาย 30 นาทีต่อวัน โปรแกรมนี้ บูรณาการร่วมกับแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ประกอบด้วย การสาธิตและสาธิตกลับการ ออกกำลังกายแบบแรนสามสิบ โดยมีนักศึกษาพยาบาลที่ผ่านการฝึกฝนแล้วเป็นผู้นำการออก กำลังกายผ่านสื่อวีดิทัศน์ซึ่งพัฒนาโดยผู้วิจัย ความรู้เรื่องอาหารแลกเปลี่ยน และมอบหมายให้ กลุ่มตัวอย่างออกกำลังกายเป็นเวลา 8 สัปดาห์เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรม การป้องกันโรคเบาหวาน การประเมินดัชนีมวลกาย และน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วหลังอดอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติทีผลการศึกษาพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมการ ออกกำลังกายแบบแรนสามสิบ กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายลดลงเมื่อเทียบกับก่อนได้รับ โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่พฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานและค่าน้ำตาลในเลือด ปลายนิ้วไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอว่า โปรแกรมการ ออกกำลังกายแบบแรนสามสิบควรนำมาใช้ในการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนอย่างไรก็ตาม ควรเพิ่มระยะเวลาในการศึกษาเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน และค่าน้ำตาลในเลือดให้ชัดเจนมากขึ้นen_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental one group pre-test post-test research design aimed at examining the effects of the RANS 30 Exercise Program on diabetic preventive behavior,body mass index, and capillary blood glucose for persons with pre-diabetes. The purposive participants selected using inclusion criteria were 30 persons with pre-diabetes receiving the RANS 30 (R = Resiliency, A = Autonomy, N = Nuture, S = Smart, 30=30 mins/day) Exercise Program integrating Self-efficacy Theory for eight weeks. The program included demonstration and return demonstration by trained nursing students using RANS 30 video developed by the researchers,knowledge of food exchange,and exercise assignment at home. Data were collected twice,before and immediately after the intervention,using the Diabetic Preventive Behavior Questionnaire,body mass index (BMI), and fasting capillary blood glucose. Data were analyzed using descriptive statistics and paired t-test. Results revealed that after the RANS 30 Exercise Program completed, the body mass index of the participants significantly decreased as compared to that before the program, but diabetic preventive behavior and capillary blood sugar were not significantly different from before the program. This research indicates that the exercise program assists to decrease in body mass index. Therefore, this program should be used to promote physical activity in the community. However, the study time should be extended to assess changes in diabetic preventive behavior and blood glucose levels.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 23, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 358-370en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/47947
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแรนสามสิบen_US
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานen_US
dc.subjectดัชนีมวลกายen_US
dc.subjectค่าน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วen_US
dc.subjectผู้ที่เสี่ยงต่อเบาหวานen_US
dc.subjectRANS 30 Exercise Programen_US
dc.subjectBody mass indexen_US
dc.subjectDiabetic preventive behavioren_US
dc.subjectCapillary blood glucoseen_US
dc.subjectPersons with pre-diabetesen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแรนสามสิบต่อพฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวาน ดัชนีมวลกาย และค่าน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วของผู้ที่เสี่ยงต่อเบาหวานen_US
dc.title.alternativeEffects of a RANS 30 Exercise Program on Diabetic Preventive Behavior, Body Mass Index, and Capillary Blood Glucose in Persons with Pre-diabetesen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/80478/87705

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-supichay-2560.pdf
Size:
1.11 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections