Publication: ความพึงพอใจของคณจารย์และเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการ งานพัฒนาหลักสูตรของงานบริหารการศึกษาและกิจการนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2560
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 155-180
Suggested Citation
ศศิธร บูรณ์เจริญ ความพึงพอใจของคณจารย์และเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการ งานพัฒนาหลักสูตรของงานบริหารการศึกษาและกิจการนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 155-180. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55096
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความพึงพอใจของคณจารย์และเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการ งานพัฒนาหลักสูตรของงานบริหารการศึกษาและกิจการนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Alternative Title(s)
Satisfaction of Lecturers and Support Staff in Curriculum Development Services of the Office of Education Management and Student Affairs, Faculty of Public Health, Mahidol University
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความพึงพอใจของคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการงานพัฒนาหลักสูตร 2) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและความพึงพอใจของคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการงานพัฒนาหลักสูตร โดยทำการสำรวจความพึงพอใจของคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการงานพัฒนาหลักสูตรของงานบริหารการศึกษาและกิจการนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลประจำปี 2558 จำนวน 136 คน ระหว่างเดือนเมษายน – เดือนกรกฎาคม 2558
ได้รับแบบสอบถามคืน 96 ฉบับ (ร้อยละ 70.58) วิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 51 ขึ้นไป วุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก ตำแหน่งอาจารย์ แต่ทำหน้าที่ในคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เพียงร้อยละ 25 เท่านั้น ผู้วิจัยสำรวจความพึงพอใจใน 3 ด้าน ได้แก่
ด้านความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่ ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และด้านการบริหารจัดการระบบการเสนอหลักสูตรเข้ากลั่นกรองผลการสำรวจ พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจมากที่สุดในด้านการให้บริการ
(ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.25) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็น การบริการด้วยความสุภาพ ได้คะแนนสูงสุด
(ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.54) ความพึงพอใจรองลงมา ได้แก่ ด้านความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่
(ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.97) ซึ่งมีความพึงพอใจมากสุดในประเด็น ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร
(ค่าคะแนน 4.04) และด้านการบริหารจัดการระบบการเสนอหลักสูตรเข้ากลั่นกรอง (ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.87)
ซึ่งมีความพึงพอใจมากสุด ในประเด็นการประสานงานอย่างเป็นระบบในการเสนอหลักสูตรเข้ากลั่นกรองในคณะกรรมการชุดต่างๆ (ค่าคะแนน 4.00) ผลการวิเคราะห์ ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ วุฒิการศึกษา และตำแหน่งกับความพึงพอใจของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ในการให้บริการงานพัฒนาหลักสูตร (p>0.05)
This study aims to 1) evaluate the satisfaction of lecturers and support staff in curriculum development services and 2) determine the relationship between personal factors and their satisfaction. The study was conducted by surveying in 136 lecturers and support staff the satisfaction of curriculum development services of the Office of Education Management and Student Affairs (OEMSA), Faculty of Public Health, Mahidol University in academic year 2015 during April-July, 2015. Ninety six questionnaires were returned (70.58%). Data were analyzed using SPSS computer program for percentage, mean, standard deviation and the chi-squared test. The majority of subjects were female, aged 51 and lecturer position with holding doctoral degree. However, only 25% of them worked in the Master's Degree curriculum Development Committee. The survey was done in three points, i.e. the knowledge and skills of, the supporting services by and systemic administration by OEMSA staff. Our findings showed that the supporting services by OEMSA staff is most satisfied (score 4.25), particularly in the issue of politeness of the staff (score 4.54), followed by knowledge and skills of the staff (score 3.97), particularly in the issue of curriculum development knowledge (score 4.04), and systemic administration by the staff (score 3.87), particularly in managing the developed curriculums forwards to reviewing by certain committee (score 4.00). Finally, it was found that gender, age, academic degree and position are not related to the satisfaction of lecturers and support staff in curriculum development services(p > 0.05).
This study aims to 1) evaluate the satisfaction of lecturers and support staff in curriculum development services and 2) determine the relationship between personal factors and their satisfaction. The study was conducted by surveying in 136 lecturers and support staff the satisfaction of curriculum development services of the Office of Education Management and Student Affairs (OEMSA), Faculty of Public Health, Mahidol University in academic year 2015 during April-July, 2015. Ninety six questionnaires were returned (70.58%). Data were analyzed using SPSS computer program for percentage, mean, standard deviation and the chi-squared test. The majority of subjects were female, aged 51 and lecturer position with holding doctoral degree. However, only 25% of them worked in the Master's Degree curriculum Development Committee. The survey was done in three points, i.e. the knowledge and skills of, the supporting services by and systemic administration by OEMSA staff. Our findings showed that the supporting services by OEMSA staff is most satisfied (score 4.25), particularly in the issue of politeness of the staff (score 4.54), followed by knowledge and skills of the staff (score 3.97), particularly in the issue of curriculum development knowledge (score 4.04), and systemic administration by the staff (score 3.87), particularly in managing the developed curriculums forwards to reviewing by certain committee (score 4.00). Finally, it was found that gender, age, academic degree and position are not related to the satisfaction of lecturers and support staff in curriculum development services(p > 0.05).