Publication:
ประสบการณ์อาการเหนื่อยล้า กลวิธีการจัดการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว

dc.contributor.authorอมรรัตน์ กรเกษมen_US
dc.contributor.authorAmornrat Kronkasemen_US
dc.contributor.authorดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศen_US
dc.contributor.authorDoungrut Wattanakitkrilearten_US
dc.contributor.authorคนึงนิจ พงศ์ถาวรกมลen_US
dc.contributor.authorKanaungnit Pongthavornkamolen_US
dc.contributor.authorเอนก กนกศิลป์en_US
dc.contributor.authorAnek Kanoksinen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherจังหวัดนนทบุรี. สถาบันโรคทรวงอกen_US
dc.contributor.otherกรุงเทพฯ.โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้าen_US
dc.date.accessioned2018-07-29T10:53:11Z
dc.date.available2018-07-29T10:53:11Z
dc.date.created2561-07-29
dc.date.issued2557
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์อาการเหนื่อยล้า กลวิธีการจัดการ และภาวะการทําหน้าที่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์อาการเหนื่อยล้า กลวิธีการจัดการ กับภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวรูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงบรรยายวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวจํานวน 88 คนที่มารับการรักษาที่คลินิกโรคหัวใจล้มเหลว และหอผู้ป่วยอายุรกรรมหัวใจ ของโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) ประสบการณ์อาการเหนื่อยล้า 3) กลวิธีการจัดการกับอาการ และ 4) ภาวะการทําหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการวิจัย: คะแนนเฉลี่ยประสบการณ์อาการเหนื่อยล้าอยู่ในระดับสูง (mean = 7.32, SD = .59) กลวิธีจัดการอาการที่ใช้บ่อยและมีประสิทธิภาพสูงสุด คือ การนอนหลับ คะแนนเฉลี่ยภาวะการทําหน้าที่อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 1.23, SD = .30) ประสบการณ์อาการเหนื่อยล้ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทําหน้าที่อย่างมีนัยสําคัญ (r = - .32, p < .01) และกลวิธีการจัดการอาการเหนื่อยล้ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับภาวะการทําหน้าที่อย่างมีนัยสําคัญ (r = .36, p < .05)สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรมีการประเมินประสบการณ์อาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว และให้แนวทางแก่ผู้ป่วยในการฝึกสุขวิทยาการนอนที่ดี ในการทําวิจัยครั้งต่อไปควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมสุขวิทยาการนอน ซึ่งจะส่งเสริมให้เกิดภาวะการทําหน้าที่ที่ดีen_US
dc.description.abstractPurpose: To explore symptom experience, management strategies, and functional status and to examine the relationships between fatigue experience, management strategies, and functional status of patients with congestive heart failure (CHF). Design: Descriptive correlational study. Methods: The sample included 88 patients with CHF at the heart failure clinic and the cardiac medical ward of a tertiary hospital in Nonthaburi province. Data were collected using questionnaires on demographic characteristics, the Piper fatigue scale-12, management strategies, and the Functional Performance Inventory Short Form (PFI-SF). Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient.Main findings: The mean score of fatigue experience was at a high level (mean = 7.32, SD = .59). The fatigue management strategy that was most commonly used and most effective was sleeping. The mean score of functional status was at a moderate level (mean = 1.23, SD = .30). Fatigue experience was negatively correlated with functional status (r = - .32, p < .01) and fatigue management strategies were positively correlated with functional status (r = .36, p < .05).Conclusion and recommendations: Nurses should assess fatigue experience in patients with CHF and provide them with guidance on good sleep hygiene. For further research, a sleep hygiene program should be developed to manage their fatigue and promote their functional status.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2557), 35-42en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/21882
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectประสบการณ์อาการเหนื่อยล้าen_US
dc.subjectกลวิธีจัดการอาการเหนื่อยล้าen_US
dc.subjectภาวะการทําหน้าที่en_US
dc.subjectภาวะหัวใจล้มเหลวในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleประสบการณ์อาการเหนื่อยล้า กลวิธีการจัดการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.title.alternativeFatigue Experience, Symptom Management Strategies, and Functional Status in Patients with Congestive Heart Failureen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/28516

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-doungrut-2557.pdf
Size:
199.41 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections