Publication: การทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็วและการให้นมแม่ครั้งแรกในห้องคลอด โรงพยาบาลรามาธิบดี
dc.contributor.author | ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | ปิยภรณ์ ปัญญาวชิร | en_US |
dc.contributor.author | Yingkwan yoorat | en_US |
dc.contributor.author | Piyaporn punyavachira | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-12-11T03:39:18Z | |
dc.date.available | 2019-12-11T03:39:18Z | |
dc.date.created | 2562-12-11 | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมความผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็ว และการให้นมแม่ครั้งแรก ใน ห้องคลอด โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยเก็บข้อมูลย้อนหลังจากสมุดบันทึกกิจกรรมและเวชระเบียน ผู้ป่วย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากคู่แม่ลูกที่คลอดทางช่องคลอด อายุครรภ์ มากกว่า 37 สัปดาห์ น้ำหนักทารกแรกเกิดมากกว่า 2,300 กรัมขึ้นไปและไม่มีภาวะแทรกซ้อน เก็บข้อมูลระหว่าง วันที่ 1 มกราคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 จำนวน 1,475 ราย วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า มีการทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความผูกพันระหว่าง มารดา-ทารกโดยเร็วในห้องคลอดร้อยละ 49.40 ระยะเวลาในการทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความ ผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็วนาน ≥ 20 นาที มีเพียงร้อยละ 2.33 พฤติกรรมการคืบหา เต้านมและงับหัวนมแม่ของทารก ร้อยละ 0.96 และการให้นมแม่ครั้งแรกในห้องคลอด พบว่าทารก แรกเกิดสามารถดูดนมแม่ได้คิดเป็นร้อยละ 93.14 จากผลการศึกษาพบว่า การทำกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมความผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็ว และระยะเวลาในการทำกิจกรรมส่งเสริมความ ผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็ว อยู่ในระดับต่ำไม่ถึงร้อยละ 50 ส่วนผลการให้นมแม่ครั้งแรก ในห้องคลอด พบว่าอยู่ในระดับดี ผลการศึกษานี้จึงเป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์หา ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของการทำกิจกรรมส่งเสริมความผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็วของ บุคลากรในห้องคลอด เพื่อนำไปพัฒนารูปแบบในการทำกิจกรรมส่งเสริมความผูกพันระหว่าง มารดา-ทารกโดยเร็ว ของบุคลากรต่อไป | en_US |
dc.description.abstract | This retrospective study aimed to examine the rate and duration of promoting early bonding and baby breast crawl behavior and the outcome of early initial breastfeeding stimulation. The samples consisted of 1,475 mothers and their newborns who were delivered by spontaneous vaginal delivery in the labour room, Ramathibodi Hospital during January-December 2011. Data were collected from the breastfeeding record in labour room and the client’s medical records. Data were analyzed using descriptive statistics. The results showed that 49.4 percent of the samples were promoted. Only 2.33 percent were promoted for 20 minutes or longer and 0.96 percent of the babies showed baby breast crawl; 93.14 percent of the promoted ones had successfully begun initial breastfeeding. This study shows that the intervention promoting early bonding and duration of promoting early bonding were less than 50 percent. The findings from this study can be used as basic information for further investigation of related factors which are barriers to early bonding promotion before proper intervention will be developed. | en_US |
dc.identifier.citation | รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 20, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2557), 304-313 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9739 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2672-9784 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48347 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | กิจกรรมเพื่อส่งเสริมความผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็ว | en_US |
dc.subject | การให้นมแม่ครั้งแรก | en_US |
dc.subject | ห้องคลอด | en_US |
dc.subject | Early bonding promoting intervention | en_US |
dc.subject | Initial breastfeeding | en_US |
dc.subject | Labour room | en_US |
dc.title | การทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความผูกพันระหว่างมารดา-ทารกโดยเร็วและการให้นมแม่ครั้งแรกในห้องคลอด โรงพยาบาลรามาธิบดี | en_US |
dc.title.alternative | Intervention Promoting Early Bonding and Initial Breastfeeding in Labour Room, Ramathibodi Hospital | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/18513/26220 |