Publication: Awareness of occupational post-exposure prophylaxis against HIV infection among health workers in Nyanza province, Kenya
Issued Date
2013
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.11, No.2 (2013), 19-30
Suggested Citation
Owino, Samuel Omondi, Supattra Srivanichakorn, Bang-on Thepthien, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, บังอร เทพเทียน, แซมเอล โอมอนดิ Awareness of occupational post-exposure prophylaxis against HIV infection among health workers in Nyanza province, Kenya. Journal of Public Health and Development. Vol.11, No.2 (2013), 19-30. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1538
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Awareness of occupational post-exposure prophylaxis against HIV infection among health workers in Nyanza province, Kenya
Alternative Title(s)
ความตระหนักต่อการใช้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากการประกอบอาชีพของบุคลากรด้านสุขภาพในจังหวัดนายาซ่า ประเทศเคนย่า
Other Contributor(s)
Abstract
This study attempts to determine the awareness of occupational post-exposure prophylaxis among health workers in Nyanza province, Kenya. A cross-sectional study was conducted to collect data related to knowledge, attitude, availability, and management support of post-exposure prophylaxis. Four hundred and thirteen health workers in rural and urban health facilities responded to this self-administered questionnaire.
Eighteen percent of the respondents reported being exposed to at least one kind of occupational risk. The highest percentage (57.9%) of health workers affected by occupational post-exposure prophylaxis was among nurses. The majority (69.7%) of the exposures were caused by needle stick injuries. While 21% were Exposed to the splashing of body fluids on mucous membranes. Health workers in rural areas had a higher awareness than those who worked in urban areas (74.5% versus 67.5%). The chi-square test revealed that the variables associated with level of awareness were attitude and management support. After multiple logistic regression was performed, it was found that a health worker who had a positive attitude and who worked with the support of higher management was more likely to have a high level of awareness (Adj OR 2.82;95% CI 1.50 -5.30 and Adj OR 1.91; 95% CI1.03 – 3.52 respectively).
It is recommended that health workers should be encouraged to have a more positive attitude towards their behavior. In addition, a support system should be set up and health workers should use a facility-based review of universal precaution procedures in order to decrease occupational exposure.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความตระหนักในการใช้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีหลังการสัมผัสสารคัดหลั่งจาการประกอบอาชีพของบุคลากรในจังหวัดนาซาย่า ประเทศเคนย่า เก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามมาตรการการติดเชื้อกับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลจำนวน 413 ราย จากเขตชนบท 204 รายและเขตเมือง 209 ราย โดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 18 เคยสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากการทำงานกลุ่มเสี่ยงในการสัมผัสสารคัดหลั่งคือ พยาบาล คิดเป็นร้อยละ 57.9 โดยส่วนใหญ่การสัมผัสสารคัดหลั่งเกิดจากเข็มฉีดยา(ร้อยละ 69.7)และสารคัดหลั่งกระเด็นมาถูกร่างกาย(ร้อยละ 21) บุคลากรเขตชนบทมีระดับความตระหนักต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งมากกว่าเขนเมือง (ร้อยละ 74.5 และร้อยละ 67.5) จากการทดสอบไคกำลังสองพบว่า ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับความตระหนักได้แก่ ทัศนคติและระดับการสนับสนุนการปฏิบัติที่ดี เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อระดับความตระหนัก (Adj OR 2.82;95% CI 1.50-5.30 Adj OR 1.91;95% CI 1.03-3.52 ตามลำดับ) เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักต่อการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อ ควรจัดให้มีระบบสนับสนุนในการปฏิบัติงานมากขึ้น โดยการทบบวนสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในสถานพยาบาลพร้อมกับกระบวนการปฏิบัติตามมาตราฐานป้องกันการติดเชื้อ อันจะทำให้ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการปฏิบัติงานต่อไป
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความตระหนักในการใช้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีหลังการสัมผัสสารคัดหลั่งจาการประกอบอาชีพของบุคลากรในจังหวัดนาซาย่า ประเทศเคนย่า เก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามมาตรการการติดเชื้อกับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลจำนวน 413 ราย จากเขตชนบท 204 รายและเขตเมือง 209 ราย โดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 18 เคยสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากการทำงานกลุ่มเสี่ยงในการสัมผัสสารคัดหลั่งคือ พยาบาล คิดเป็นร้อยละ 57.9 โดยส่วนใหญ่การสัมผัสสารคัดหลั่งเกิดจากเข็มฉีดยา(ร้อยละ 69.7)และสารคัดหลั่งกระเด็นมาถูกร่างกาย(ร้อยละ 21) บุคลากรเขตชนบทมีระดับความตระหนักต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งมากกว่าเขนเมือง (ร้อยละ 74.5 และร้อยละ 67.5) จากการทดสอบไคกำลังสองพบว่า ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับความตระหนักได้แก่ ทัศนคติและระดับการสนับสนุนการปฏิบัติที่ดี เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อระดับความตระหนัก (Adj OR 2.82;95% CI 1.50-5.30 Adj OR 1.91;95% CI 1.03-3.52 ตามลำดับ) เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักต่อการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อ ควรจัดให้มีระบบสนับสนุนในการปฏิบัติงานมากขึ้น โดยการทบบวนสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในสถานพยาบาลพร้อมกับกระบวนการปฏิบัติตามมาตราฐานป้องกันการติดเชื้อ อันจะทำให้ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการปฏิบัติงานต่อไป