Publication:
ความแม่นของการวัดเชิงเส้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างภาพรังสีปริทัศน์และภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวย

dc.contributor.authorศิรินันท์ วิเศษสินธุ์en_US
dc.contributor.authorSirinun Wisetsinen_US
dc.contributor.authorทวีพงศ์ อารยะพิศิษฐen_US
dc.contributor.authorTawepong Arayapisiten_US
dc.contributor.authorขวัญชนก แสวงศรีen_US
dc.contributor.authorKhwanchanok Sawaengsrien_US
dc.contributor.authorพิชญพล ชุณหชัชวาลกุลen_US
dc.contributor.authorPitchayapol Chunhachatchavalkulen_US
dc.contributor.authorพิชญา ไวโรจนกุลen_US
dc.contributor.authorPichaya Wairojanakulen_US
dc.contributor.authorสาธิดา ชาติบัญชาชัยen_US
dc.contributor.authorSathida Chatbunchachaien_US
dc.contributor.authorสุภัค งามสมen_US
dc.contributor.authorSupak Ngamsomen_US
dc.contributor.correspondenceศิรินันท์ วิเศษสินธุ์en_US
dc.contributor.correspondenceSirinun Wisetsinen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชารังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-02-25T08:36:33Z
dc.date.accessioned2016-12-27T07:16:34Z
dc.date.available2015-02-25T08:36:33Z
dc.date.available2016-12-27T07:16:34Z
dc.date.created2015-02-23
dc.date.issued2012-01
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความเม่นของการวัดระยะเชิงเส้รบนภาพรังสีปริทัศน์เมื่อเปรียบเทียบกับการวัดระยะบนกระดูกขากรรไกรล่างและการวัดระยะภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวย วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: คัดเลือกกระดูกขากรรไกรล่างที่มีฟันกรามน้อยล่างซี่ที่ 2 จำนวน 10 ชิ้น (20 ข้าง ) และกำหนดตำแหน่งอ้างอิงในการวัดระยะบนกระดูกขากรรไกรล่างโดยใช้กัตตเปอร์ชายึดติดบนกระดูกขากรรไกรล่างบริเวฯขอบด้านไกลกลางและด้านล่างของรูข้างคาง และแนวประสานคาง จากนั้นถ่ายภาพรังสีปริทัศน์และภาะรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวยวัดระยะแนวดิ่ง โดยวัดจากยอดปุ่มฟันกรามน้อยซี่ที่ 2 ไปยังขอบล่างของรูข้างคาง และระยะแนวนอน โดยวัดจากขอบด้านไกลกลางของรูข้างคางไปยังแนวประสานคาง บนกระดูกขากรรไกรล่าง ภาพรังสีปริทัศน์และภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวย คำนวณค่าความคาดเคลื่อนสัมพัทธ์ของภาพรังสีเมื่อเทียบกับการวัดบนกระดูกขากรรไกรล่าง เปรียบเทียบความแตกต่างของระยะบนภาพรังสีแต่ละประเภทกับระยะที่วัดจากกระดูกขากรรไกรล่างด้วยการทดสอบแพร์ที (α=.05) และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างความคาดเคลื่อนสัมพัทธ์ของภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวยด้วยการทดสอบที (α=.05) ผลการศึกษา: ระยะที่วัดจากภาพรังสีปริทัศน์และภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวยทั้งแนวดิ่งและแนวนอนไม่มีความแตกต่างจากระยะที่วัดจากกระดูกขากรรไกรล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>.05) แต่ความคาดเคลื่อนสัมพัทธ์ของภาพรังสีปริทัศน์ทั้งแนงดิ่งและแนวนอนมีค่าสูงกว่าความคลาดเคลื่อนสัมพันธ์ของภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูกกรวยอย่างมีนัยสัญทางสถิติ (p>.05) บทสรุป: แม้ว่าภาพรังสีปริทัศน์และภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวย อย่างไรก็ตามภาพรังสีปริทัศน์มีความแม่นเพียงพอในการวัดระยะเชิงเส้นทั้งในแนวดิ่งและแนวนอนen_US
dc.description.abstractObjective: To evaluate the accuracy of linear measurement on panoramic radiographs comparing to measurement on mandible and on cone beam computed tomographic radiographs. Materials and methods: Ten mandibles (twenty hemimandibles) that had second premolar were selected. The gutta-percha cones were placed at anatomical points representing symphysis menti, distal and lower border of mental foramen. Panoramic and cone beam computed tomographic radiographs of the marked mandible were cautiously taken. Then, the distance from cusp tip of second premolar to lower border of mental foramen as the vertical measurement and the distance between symphysis menti and distal border of mental foramen as the horizontal measurement were determined on the panoramic and the cone beam computed tomographic radiographs as well as directly on the mandibles. The relative error of both imaging modalities was assessed. The measurement obtained from each radiograph was compared with that obtained from the same mandible by paired t-test (α=.05). The difference of the relative error between radiographic techniques was analyzed using t-test (α=.05). Results: Linear measurement on each radiographic technique had no significant difference from the actual length of the mandible in horizontal and vertical distances (p>.05). However, the relative error was consistently greater on the panoramic radiograph than on the cone beam computed tomographic radiograph in both dimensional measurements (p<.05). Conclusion: Although the panoramic radiograph was less precise than the cone beam computed tomographic radiograph, it had sufficient measurement confidence for linear morphometric assessment in both horizontal and vertical dimensions.
dc.identifier.citationศิรินันท์ วิเศษสินธุ์, ทวีพงศ์ อารยะพิศิษฐ, ขวัญชนก แสวงศรี, พิชญพล ชุณหชัชวาลกุล, พิชญา ไวโรจนกุล, สาธิดา ชาติบัญชาชัย, และคณะ. ความแม่นของการวัดเชิงเส้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างภาพรังสีปริทัศน์และภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวย. ว ทันต มหิดล. 2555; 32(1-2): 11-20.
dc.identifier.issn0125-5614 (printed)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1060
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์en_US
dc.subjectความแม่นen_US
dc.subjectภาพรังสีปริทัศน์en_US
dc.subjectภาพรังสีส่วนตัดอาสัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวยen_US
dc.subjectระยะเชิงเส้นen_US
dc.subjectAccuracyen_US
dc.subjectCone beam computed tomographic radiographen_US
dc.subjectLinear measurementen_US
dc.subjectPanoramic radiographen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
dc.subjectMahidol Dental Journal
dc.titleความแม่นของการวัดเชิงเส้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างภาพรังสีปริทัศน์และภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบรังสีรูปกรวยen_US
dc.title.alternativeAccuracy of linear measurement between panoramic radiograph and cone beam computed tomographic radiograph.en_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.dateAccepted2012-08-20
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.dt.mahidol.ac.th/division/offeducation/education_1_6/data/book/2555/full%20text/MDJ_Vol32_No1-2.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
dt-ar-sirinan-2555.pdf
Size:
562.3 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections