Publication:
The exploration of financial impacts among three stakeholders during the 2016 Foot-and-Mouth Disease Outbreak in a Dairy Cooperative, Chiang Mai province, Thailand

dc.contributor.authorWilasinee Jongthanachoteen_US
dc.contributor.authorManthita Poontrakulkeaten_US
dc.contributor.authorKwankla Mungthisarnen_US
dc.contributor.authorAnuwat Wiratsudakulen_US
dc.contributor.authorSineenard Jiemtaweeboonen_US
dc.contributor.authorวิลาสินี จงธนโชติen_US
dc.contributor.authorมัณฑิตา พูนตระกูลเกียรติen_US
dc.contributor.authorขวัญกล้า มังธิสารen_US
dc.contributor.authorอนุวัตน์ วิรัชสุดากุลen_US
dc.contributor.authorสินีนาถ เจียมทวีบุญen_US
dc.contributor.otherMahidol University. Faculty of Veterinary Scienceen_US
dc.contributor.otherMahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Sciences and Public Healthen_US
dc.date.accessioned2020-12-30T13:00:19Z
dc.date.available2020-12-30T13:00:19Z
dc.date.created2020-12-30
dc.date.issued2019
dc.description.abstractFoot-and-mouth disease (FMD) leads to a huge impact to dairy farmers as milk selling is not allowed during the outbreak. This study thus aimed to estimate the economic impact of FMD outbreaks in a dairy cooperative located in Chiang Mai province, Thailand. We explored economic losses in three different categories including farmers, dairy cooperative and governmental authority. A multiple linear regression model was employed to identify the key factors that contribute to the financial impacts. Our results reveal that farmer losses were resulted from milk selling prohibition, treatment service and their supplies. The loss per cow was approximated at 33.9 USD resulting in the total loss of 31,120.25 USD. During the outbreaks, the cooperative spent some expenses on farmer compensation, overtime wages, laboratory testing, together with the loss due to raw milk reduction and decline on selling goods. The impact on this sector was around 3,725.44 USD. At the provincial DLD office, veterinary authority needed to set up animal checkpoints during the outbreak and carried out laboratory testing for suspected samples. The cost of these control measures was 2,466.58 USD. In total, the financial impact of the 2016 FMD outbreak in this certain cooperative was estimated at 37,312.27 USD. According to our model, the key parameters that can predict the economic impact were milk income, fuel cost and feed cost (R2 = 0.88). We anticipate that our model may help to raise awareness on these economic impacts and manage the identified factors during the course of the outbreaks.en_US
dc.description.abstractการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยนำมาซึ่งผลกระทบที่รุนแรงต่อเกษตรผู้เลี้ยงโคนมจากการงดส่งนมในช่วงของการระบาด เป้าหมายของการศึกษาครั้งนี้ คือ การประเมินค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยในพื้นที่สหกรณ์โคนมแห่งหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ คณะผู้วิจัยได้แบ่งผู้ได้รับผลกระทบเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม สหกรณ์โคนม และภาครัฐบาล ที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ( (multiple linear regression) เพื่อระบุปัจจัยหลักที่มีส่วนทำให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลของการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ความสูญเสียในภาคเกษตรนั้นเกิดจากการงดส่งนม และค่าใช้จ่าย ในการรักษาโครวมถึงเวชภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง มูลค่าความเสียหายต่อตัวโคนั้นคิดเป็น 33.9 ดอลลาร์สหัฐ มูลค่าความเสียหายรวมในส่วนของเกษตรกรคิดเป็น 31,120.25 ดอลลาร์สหัฐ ในส่วนของสหกรณ์โคนม ความสูญเสียเกิดจากการจ่ายค่าชดเชยให้แก่เกษตรที่เป็นสมาชิก ค่าจ้างล่วงเวลาให้แก่พนักงาน และค่าใช้จ่ายในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมไปถึงปริมาณการขายน้ำนมดิบและสินค้าที่ลดลง ซึ่งประเมินความเสียหายได้ทั้งสิ้น 3,725.44 ดอลลาร์สหัฐ และในส่วนของภาครัฐบาลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหมายถึงหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ในพื้นที่นั้น มีการจัดตั้งจุดตรวจและควบคุมโรคระบาดและส่งตรวจตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการซึ่งคิดเป็นค่าใช้จ่าย 2, 466.58 ดอลลาร์สหัฐ จึงสามารถสรุปผลเป็นมูลค่าความเสียหายจากผู้ได้รับผลกระทบทั้งหมกได้ทั้งสิ้น 37,312.27 ดอลลาร์สหัฐ จากแบบจำลองพบว่าปัจจัยที่สามารถนำมาคาดการณ์ความสูยเสียในภาคเกษตรได้ คือ รายได้จากการขายนม ค่าน้ำมัน และค่าอาหารสัตว์ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจอยู่ที่ 0.88 (R = 0.88) คณะผู้วิจัยคาดหวังว่าแบบจำลองที่แสดงให้เห็น มูลค่าความเสียหายทั้งมดนี้ จะสามารถสร้างความตระหนักให้เห็นถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจที่สำคัญ และสามารถนำไปใช้วางแผน การจัดการกับปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบในช่วงของการระบาดen_US
dc.identifier.citationJournal of Applied Animal Science. Vol.12, No.3 (Sep- Dec 2019), 31-40en_US
dc.identifier.urihttps://hdl.handle.net/20.500.14594/60638
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderFaculty of Veterinary Science Mahidol Universityen_US
dc.subjectDairy cattle, Economicsen_US
dc.subjectFMDen_US
dc.subjectModelingen_US
dc.subjectThailanden_US
dc.subjectโคนมen_US
dc.subjectเศรษศาสตร์en_US
dc.subjectโรคปากและเท้าเปื่อยen_US
dc.subjectแบบจำลองen_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.subjectJournal of Applied Animal Scienceen_US
dc.titleThe exploration of financial impacts among three stakeholders during the 2016 Foot-and-Mouth Disease Outbreak in a Dairy Cooperative, Chiang Mai province, Thailanden_US
dc.title.alternativeการสำรวจผลกระทบทางเศรษฐกิจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อยในปี พ.ศ. 2559 ณ สหกรณ์ โคนมในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://vs.mahidol.ac.th/jaas/vol12no3.php
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
vs-ar-sineenar-2019.pdf
Size:
1.65 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections