Publication: ผลของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําต่อความสามารถในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2
Issued Date
2554
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 143-150
Suggested Citation
สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา, Sirirat Chatchaisucha, นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Narirat Jitramontree, วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย, Vorawan Vanicharoenchai ผลของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําต่อความสามารถในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2. วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 143-150. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/8771
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําต่อความสามารถในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2
Alternative Title(s)
The Effect of an Intravenous Infusion E-material on the Second Year Nursing Students’ Ability to Demonstrate the Procedure of Intravenous Infusion
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักศึกษาพยาบาลในการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําระหว่างกลุ่มทดลองที่ใช้สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์การให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํากับกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีแบบเดิมโดยการสอนสาธิตและสาธิตย้อนกลับ และศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์การให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําในกลุ่มทดลอง
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวน 135 คน โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายได้กลุ่มควบคุมจํานวน 71 คน และกลุ่มทดลองจํานวน 64 คนรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความสามารถการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําและแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้สื่อที่ผู้วิจัยสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าที
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มทดลองมีความสามารถในการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับดี
สรุปและข้อเสนอแนะ: การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็นอย่างมาก ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลาตามความสะดวกของตนเอง และสามารถเรียนรู้ได้บ่อยครั้งตามความต้องการของตนเองจนสามารถปฏิบัติได้ ดังนั้นสื่ออิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นเครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
Purposes: To compare the nursing students’ ability to demonstrate the procedure of intravenous infusion between an experimental group learning through intravenous infusion e-material and a control group learning through usual methods of demonstration and return-demonstration, and to assess the satisfaction of using the intravenous infusion e-material. Design: Quasi-experimental research design. Methods: The sample was the bachelor degree second year nursing students at the Faculty of Nursing, Mahidol University with a total number of 135. All participants were simple randomly assigned to the control group (n = 71) and the experimental group (n = 64). Data were collected by using a procedure checklist and a satisfaction questionnaire. Descriptive statistics (mean, standard deviation) and t-test were used for data analysis.Main findings: Significantly, the experimental group showed higher competency (p < .01) in demonstrating the procedure of intravenous infusion than did the control group. The participants in the experimental group were also satisfied with using intravenous infusion e-material at a high level.Conclusion and recommendations: Using the intravenous infusion e-material is very useful for the nursing students. The students are able to study at their own convenience and as often as needed till their ability being developed. The e-material, therefore, is a very significant tool in improving quality of education.
Purposes: To compare the nursing students’ ability to demonstrate the procedure of intravenous infusion between an experimental group learning through intravenous infusion e-material and a control group learning through usual methods of demonstration and return-demonstration, and to assess the satisfaction of using the intravenous infusion e-material. Design: Quasi-experimental research design. Methods: The sample was the bachelor degree second year nursing students at the Faculty of Nursing, Mahidol University with a total number of 135. All participants were simple randomly assigned to the control group (n = 71) and the experimental group (n = 64). Data were collected by using a procedure checklist and a satisfaction questionnaire. Descriptive statistics (mean, standard deviation) and t-test were used for data analysis.Main findings: Significantly, the experimental group showed higher competency (p < .01) in demonstrating the procedure of intravenous infusion than did the control group. The participants in the experimental group were also satisfied with using intravenous infusion e-material at a high level.Conclusion and recommendations: Using the intravenous infusion e-material is very useful for the nursing students. The students are able to study at their own convenience and as often as needed till their ability being developed. The e-material, therefore, is a very significant tool in improving quality of education.
Sponsorship
โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนวิจัยจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล