Publication:
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบททางภาคใต้

dc.contributor.authorวันทนีย์ ชัยฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorนพวรรณ เปียซื่อen_US
dc.contributor.authorสุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอen_US
dc.contributor.authorWantanee Chairiten_US
dc.contributor.authorNoppawan Piaseuen_US
dc.contributor.authorSuchinda Jarupat Maruoen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2019-12-20T08:26:31Z
dc.date.available2019-12-20T08:26:31Z
dc.date.created2562-12-20
dc.date.issued2555
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความมั่นคงทาง อาหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัวและสังคมกับความมั่นคง ทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบททางภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 194 ราย เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ จากแบบสอบถาม การประเมินภาวะโภชนาการด้วยดัชนีมวลกายและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย ไคสแควร์ และสหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุที่มีปัญหาความมั่นคงทางอาหารมีค่อนข้างน้อย ร้อยละ 6.7 เมื่อวิเคราะห์รายมิติพบปัญหาด้าน คุณภาพอาหารมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และปริมาณอาหารตาม ลำดับ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า ภาวะสุขภาพ รายได้ของครอบครัว และแรงสนับสนุน ทางสังคมมีความสัมพันธ์เชิงลบกับปัญหาความมั่นคงทางอาหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการ ศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารของ ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ มีรายได้ครอบครัวน้อย และการสนับสนุนทางสังคมน้อยen_US
dc.description.abstractThis correlational study aimed to examine food security and investigated correlations between personal, family, social factors, and food security among older adults living in a rural community, Southern Thailand. The sample included 194 older adults aged 60 years and over. Through purposive sampling, the sample was selected according to inclusion criteria. Data were collected by interview from questionnaires and nutritional assessment using body mass index and hand grip strength. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square test, and Spearman rank correlations. Results revealed that only a small proportion of older adults (6.7%) had problems with food security. Subscale analysis found that food quality was at the highest level, followed by food safety and food quantity, respectively. Correlational analysis reported that health status, family income, and social support were negatively associated with food security problem. Results suggested that community nurse practitioners should promote food security for older adults particularly for those with health problems, low family income, and social support.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 18, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2555), 311-326en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48459
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความมั่นคงทางอาหารen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectชุมชนชนบทen_US
dc.subjectFood securityen_US
dc.subjectOlder adultsen_US
dc.subjectRural communityen_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบททางภาคใต้en_US
dc.title.alternativeFactors Related to Food Security among Older Adults in a Rural Community of Southern Thailanden_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urltci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/8887/7582

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-noppawan-2555-3.pdf
Size:
629.34 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections