Publication: Rabies preventive behaviors of dog owners in Nakhon Pathom Province of Thailand
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.13, No.1 (2015), 17-28
Suggested Citation
Keiko Akai, Jiraporn Chompikul, Cheerawit Rattanapan Rabies preventive behaviors of dog owners in Nakhon Pathom Province of Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.13, No.1 (2015), 17-28. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1560
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Rabies preventive behaviors of dog owners in Nakhon Pathom Province of Thailand
Alternative Title(s)
พฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของเจ้าของสุนัขในจังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional study was conducted to investigate rabies preventive behaviors of dog owners and
related factors. Multi-stage cluster sampling was used to collect data at four health promoting hospitals of
Nakhon Pathom province, Thailand. Structured questionnaires were distributed to 380 dog owners who were
selected by the inclusion criteria. Data were collected through a structured questionnaire in March 2012.
Chi-square tests and multiple logistic regression were used to examine associations between independent
variables and rabies preventive behaviors.
A total of 319 self-administered questionnaires were completed and returned, resulting in a response rate
of 83.9%. The results showed that 38.5 % of respondents had good preventive behaviors against rabies.
Factors significantly associated with rabies preventive behavior were knowledge (p-value=0.004), perception
(p-value = 0.003), dog carers (p-value = 0.008), number of dogs (p-value = 0.024), experience of bitten
by a dog (p-value = 0.039), heard about rabies (p-value = 0.006) and accessibility to rabies information
(p-value < 0.05). When adjusted for other factors, perceptions towards rabies prevention was the strongest
predictor of preventive behaviors (Adj. odds ratio = 1.99, 95% CI;1.11 – 3.59). Dog owners who had
positive perception about rabies prevention were about two times more likely to have good preventive
behaviors against rabies. The findings suggested that good knowledge and positive perceptions about rabies
prevention should be promoted among dog owners and family members to prevent rabies.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อสำรวจพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของเจ้าของสุนัขและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมนี้ ใช้วิธี การสุ่ม ตัวอย่างแบบชั้นภูมิหลายขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 4 แห่งในจังหวัดนครปฐมโดยใช้แบบสอบถามมีเค้าโครง ผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามให้เจ้าของสุนัข 380 คนที่มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์คัดเลือกเข้าสู่การศึกษาในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติคเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเจ้าของสุนัขได้ตอบแบบสอบถามอย่างครบถ้วนและส่งกลับคืนจำนวน 319 คน อัตราการตอบกลับเป็น ร้อลละ 83.9 ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 38.5 ของเจ้าของสุนัขมีพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในระดับดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับ โรคพิษสุนัขบ้า (p-value = 0.004), การรับรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (p-value = 0.003), ผู้ดูแลสุนัข (p-value = 0.008), จำนวนสุนัข (p-value = 0.024), ประสบการณ์การถูกสุนัขกัด (p-value = 0.039), การได้ยินเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า (p-value = 0.006) และ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า (p-value < 0.05). เมี่อปรับอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆแล้ว การรัยรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัจจัยที่เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้มากที่สุด (Adj. odds ratio = 1.99, 95% CI;1.11 – 3.59) เจ้าของสุนัขที่มีรับรู้เชิงบวกเกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามีแนวโน้มเกือบสองเท่าที่จะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในระดับดี จากผลการศึกษานี้ทำให้ได้ข้อเสนอแนะเพื่อการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าดังนี้ ควรส่งเสริมเจ้าของสุนัขและสมาชิกในครอบครัวให้มีความรู้กี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าในระดับดี และมีการรับรู้เชิงบวกเกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อสำรวจพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของเจ้าของสุนัขและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมนี้ ใช้วิธี การสุ่ม ตัวอย่างแบบชั้นภูมิหลายขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 4 แห่งในจังหวัดนครปฐมโดยใช้แบบสอบถามมีเค้าโครง ผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามให้เจ้าของสุนัข 380 คนที่มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์คัดเลือกเข้าสู่การศึกษาในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติคเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเจ้าของสุนัขได้ตอบแบบสอบถามอย่างครบถ้วนและส่งกลับคืนจำนวน 319 คน อัตราการตอบกลับเป็น ร้อลละ 83.9 ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 38.5 ของเจ้าของสุนัขมีพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในระดับดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับ โรคพิษสุนัขบ้า (p-value = 0.004), การรับรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (p-value = 0.003), ผู้ดูแลสุนัข (p-value = 0.008), จำนวนสุนัข (p-value = 0.024), ประสบการณ์การถูกสุนัขกัด (p-value = 0.039), การได้ยินเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า (p-value = 0.006) และ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า (p-value < 0.05). เมี่อปรับอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆแล้ว การรัยรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัจจัยที่เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้มากที่สุด (Adj. odds ratio = 1.99, 95% CI;1.11 – 3.59) เจ้าของสุนัขที่มีรับรู้เชิงบวกเกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามีแนวโน้มเกือบสองเท่าที่จะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในระดับดี จากผลการศึกษานี้ทำให้ได้ข้อเสนอแนะเพื่อการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าดังนี้ ควรส่งเสริมเจ้าของสุนัขและสมาชิกในครอบครัวให้มีความรู้กี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าในระดับดี และมีการรับรู้เชิงบวกเกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า