Publication: การใช้ขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็ก 0.013 และ 0.015 ครั้งเดียวกำจัดคราบจุลินทรีย์และผลต่อแผลเหงือกถลอก
Accepted Date
2013-03-12
Issued Date
2013-01
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
ตามเสด็จ เกาศัลย์, พัชรพล ทีฆอริยภาคย์, วุตถา เอือ, ยสวิมล คูผาสุข, วรุณี เกิดวงศ์บัณฑิต. การใช้ขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็ก 0.013 และ 0.015 ครั้งเดียว กำจัดคราบจุลินทรีย์และผลต่อแผลเหงือกถลอก. ว ทันต มหิดล. 2556; 33(1): 19-29.
Suggested Citation
ตามเสด็จ เกาศัลย์, Tamsadej Kaosal, พัชรพล ทีฆอริยภาคย์, Patcharapon Teekaariyapark, วุตถา เอือ, Votha Oeur, ยสวิมล คูผาสุข, Yosvimol Kuphasuk, วรุณี เกิดวงศ์บัณฑิต, Varunee Kerdvongbundit การใช้ขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็ก 0.013 และ 0.015 ครั้งเดียวกำจัดคราบจุลินทรีย์และผลต่อแผลเหงือกถลอก. ตามเสด็จ เกาศัลย์, พัชรพล ทีฆอริยภาคย์, วุตถา เอือ, ยสวิมล คูผาสุข, วรุณี เกิดวงศ์บัณฑิต. การใช้ขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็ก 0.013 และ 0.015 ครั้งเดียว กำจัดคราบจุลินทรีย์และผลต่อแผลเหงือกถลอก. ว ทันต มหิดล. 2556; 33(1): 19-29.. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1134
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การใช้ขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็ก 0.013 และ 0.015 ครั้งเดียวกำจัดคราบจุลินทรีย์และผลต่อแผลเหงือกถลอก
Alternative Title(s)
Single-Use 0.013 and 0.015 Tapered Toothbrush Bristles on Plaque Removal and Effect on Gingival Abrasion.
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดคราบจุลินทรีย์ และการเกิดแผล
เหงือกถลอกของขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็ก
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: ศึกษาการแปรงฟันครั้งเดียวทางคลินิกชนิดดับเบิ้ลบลาย
ด์แรนดอมไมซ์ครอสโอเวอร์ในอาสาสมัคร 29 คน อายุระหว่าง 18-23 ปี เปรียบเทียบ
การกำจัดคราบจุลินทรีย์และแผลเหงือกถลอกโดยขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็กเส้นผ่าน
ศูนย์กลางขนาด 0.013 มม. (ทดสอบ) และ 0.015 มม. (ควบคุม) โดยขูดหินน้ำลายและ
ขัดฟันให้อาสาสมัคร งดทำความสะอาดช่องปากเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ตรวจและบันทึกค่า
ดัชนีคราบจุลินทรีย์และแผลเหงือกถลอก ก่อนและหลังการแปรงฟันวิธีโมดิฟายด์บาส ด้วย
แปรงสีฟันที่เตรียมให้โดยวิธีสุ่ม นาน 2 นาที เว้นระยะล้างผล 2 สัปดาห์ ทำเช่นเดียวกัน
โดยใช้แปรงสีฟันคนละชนิด
ผลการศึกษา: ทั้งแปรงสีฟันขนาดขนแปรง 0.013 และ 0.015 มม. กำจัดคราบจุลินทรีย์ทั้ง
ปากรวมถึงบริเวณที่เข้าถึงยาก เช่น ขอบเหงือกและด้านประชิดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
เมื่อศึกษาร้อยละของการลดคราบจุลินทรีย์ ขนแปรงสีฟันขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.015
มม. กำจัดคราบจุลินทรีย์ดีกว่าขนแปรงสีฟันขนาด 0.013 มม. แต่ไม่มีความแตกต่างอย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติ ขนแปรงสีฟันทั้งสองไม่ทำอันตรายเนื้อเยื่อเหงือก
บทสรุป: เส้นผ่านศูนย์กลางของขนแปรงสีฟันปลายเรียวเล็กที่ลดลง ไม่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพในการกำจัดคราบจุลินทรีย์และการเกิดแผลเหงือกถลอก
Objective: To compare the plaque removal efficacy and gingival abrasion of tapered toothbrush bristles. Materials and methods: Twenty-nine healthy subjects, aged between 18-23 years, participated in a double-blind, randomized, crossover clinical singleuse tooth brushing study. The tapered toothbrush bristles diameter: 0.013 mm (test) and 0.015 mm (control) were compared for plaque removal and gingival abrasion. Subjects were given a dental cleaning and polishing and then returned after refraining from oral hygiene for 24 hours. Plaque index and gingival abrasion were evaluated before and after 2-minute brushing with modified Bass technique and the randomly assigned toothbrush. Subjects returned after washout of 2 weeks to repeat the same procedure with the different toothbrush. Results: Both 0.013 and 0.015 mm toothbrush bristles were statistically significant in removing plaque from the overall dentition as well as in hardto-reach areas, i.e., the marginal and approximal areas. On a percentage basis, the 0.015 mm tapered toothbrush bristle was better in removing plaque at all sites than 0.013 mm tapered toothbrush bristle but was not statistical difference. Both kinds of toothbrush bristles were gentle on gingival tissue without any trauma. Conclusion: Reduced diameter of tapered toothbrush bristles did not change the efficacy of plaque removal and no effect on gingival abrasion
Objective: To compare the plaque removal efficacy and gingival abrasion of tapered toothbrush bristles. Materials and methods: Twenty-nine healthy subjects, aged between 18-23 years, participated in a double-blind, randomized, crossover clinical singleuse tooth brushing study. The tapered toothbrush bristles diameter: 0.013 mm (test) and 0.015 mm (control) were compared for plaque removal and gingival abrasion. Subjects were given a dental cleaning and polishing and then returned after refraining from oral hygiene for 24 hours. Plaque index and gingival abrasion were evaluated before and after 2-minute brushing with modified Bass technique and the randomly assigned toothbrush. Subjects returned after washout of 2 weeks to repeat the same procedure with the different toothbrush. Results: Both 0.013 and 0.015 mm toothbrush bristles were statistically significant in removing plaque from the overall dentition as well as in hardto-reach areas, i.e., the marginal and approximal areas. On a percentage basis, the 0.015 mm tapered toothbrush bristle was better in removing plaque at all sites than 0.013 mm tapered toothbrush bristle but was not statistical difference. Both kinds of toothbrush bristles were gentle on gingival tissue without any trauma. Conclusion: Reduced diameter of tapered toothbrush bristles did not change the efficacy of plaque removal and no effect on gingival abrasion