Publication:
การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลการวิจัยทางคลินิก

dc.contributor.authorชนินาถ สุริยะลังกาen_US
dc.contributor.authorพัชรีย์ จิตตพิทักษ์ชัยen_US
dc.contributor.authorChaninart Suriyalunggaen_US
dc.contributor.authorPatcharee Chittaphithakchaien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองบริหารงานวิจัยen_US
dc.contributor.otherกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 สมุทรสงครามen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T18:48:05Z
dc.date.available2022-09-24T18:48:05Z
dc.date.created2565-09-25
dc.date.issued2563
dc.description.abstractกองบริหารงานวิจัย เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในการประสานงานและบริหารจัดการโครงการวิจัยทางคลินิกของมหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนโครงการในแต่ละปีงบประมาณมีจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มปริมาณขึ้น โดยการจัดการข้อมูลการวิจัยทางคลินิกเดิมใช้โปรแกรมระบบตารางคำนวณ (Microsoft Excel) ซึ่งพบปัญหา ดังเช่น การบันทึก สืบค้นและติดตามผล ซ้ำซ้อนและล่าช้า เป็นต้น ดังนั้น ผู้จัดทำจึงต้องการพัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานข้อมูลการวิจัยทางคลินิก เพื่อให้การดำเนินงานด้านข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Microsoft Access) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาระบบการบริหารฯ ขอบเขตข้อมูลเป็นการดำเนินงานการวิจัยในทุกขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสัญญาการวิจัยทางคลินิก การขึ้นทะเบียนโครงการ การเบิกจ่าย การรายงานความก้าวหน้า และการปิดโครงการ โดยทดสอบการบันทึกข้อมูลและการสืบค้นข้อมูลระหว่างโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล และโปรแกรมระบบตารางคำนวณ พบว่า โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เวลารวมในการการบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพมากกว่าร้อยละ 43.71 และการสืบค้นข้อมูลมากกว่าร้อยละ 86.29 โดยในแต่ละขั้นตอนการดำเนินงานการวิจัยเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติ ดังนี้ ขั้นตอนการตรวจสัญญาการวิจัยทางคลินิก (การบันทึกข้อมูล) และ การขึ้นทะเบียนโครงการ (การบันทึกข้อมูลและการรสืบค้นข้อมูล) ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกนั้นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล มีประสิทธิภาพมากกว่าร้อยละ ดังนี้ การตรวจสัญญาการวิจัยทางคลินิก (การสืบค้นข้อมูล 42.86), การเบิกจ่าย (การบันทึกข้อมูล 55.33, การสืบค้นข้อมูล 99.52), การรายงานความก้าวหน้า (การบันทึกข้อมูล 88.22, การสืบค้นข้อมูล 93.81) และการปิดโครงการ (การบันทึกข้อมูล 65.2, การสืบค้นข้อมูล 88.57) ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาการบริหารจัดการข้อมูลวิจัยคลินิกโดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ต้องการระบบจัดเก็บข้อมูลการวิจัยทางคลินิก ที่รวดเร็ว ถูกต้อง อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ควรมีการพัฒนาต่อในด้านการกำหนดสิทธิ์การเข้าถึง ความจุของโปรแกรมในการเก็บและการวางแผนการสำรองข้อมูล (Back up) เพื่อให้ได้ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นต่อไปen_US
dc.description.abstractResearch Management and Development Division is the primary unit responsible for coordinating and managing clinical research projects at Mahidol University. The number of projects in each budget year is large and the trend is increasing. By managing clinical research data, formerly using Microsoft Excel, which encountered problems such as recording, searching and tracking results duplication and delay etc. Therefore, the author wants to develop a system for managing clinical research databases. To make data operations more efficient by using Microsoft Access program which is used to develop the management system. The data scope is all research work process, including reviewed agreement, clinical trial research registration, disbursement, report progress and project closure. By testing the data record and data search between Microsoft Access and Microsoft Excel, it was found that Microsoft Access recorded the data in total time more efficiently 43.71% and data search more than 86.29%. In each step of the clinical research process, comparing the statistical differences as follows: The process of reviewed agreement (Data record) and clinical trial research registration (Data record and data search) were not significantly different. The others are statistically significant differences. The Microsoft Access program is more effective than the percentage as follows; reviewed agreement (data search 42.86%), disbursement (data record 55.33%, data search 99.52%), report progress (data record 88.22%, data search 93.81%) and project closure (data record 65.2%, data search 88.57%). The benefits from the development of clinical research data management using Microsoft Access is based on the research objectives that require fast, accurate and efficient clinical research data storage system. Further development in the field of set access rights, capacity in storage and backup planning to get more efficient database management system.en_US
dc.identifier.citationวารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 7, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2563). 90-101en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79650
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมฐานข้อมูลen_US
dc.subjectข้อมูลการวิจัยทางคลินิกen_US
dc.titleการพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลการวิจัยทางคลินิกen_US
dc.title.alternativeDatabase system developments clinical trial dataen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/mur2r/article/view/244228

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
op-ar-chaninar-2563.pdf
Size:
922.79 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections