Publication:
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา

dc.contributor.authorอังกฤษ มีจักรen_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorนิรัตน์ อิมามีen_US
dc.contributor.authorอัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์en_US
dc.contributor.authorAngkrit Meejaken_US
dc.contributor.authorManirat Therawiwaten_US
dc.contributor.authorNirut Imameeen_US
dc.contributor.authorAcharaporn Seeherunwongen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์en_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลกen_US
dc.date.accessioned2021-08-20T04:56:42Z
dc.date.available2021-08-20T04:56:42Z
dc.date.created2564-08-20
dc.date.issued2554
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ ความสามารถในการดูแลตนเอง การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วย มะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอรายใหม่ที่ได้รับรังสี รักษาเพียงอย่างเดียวและมารับการฉายรังสี ณ โรงพยาบาลศิริราช จำนวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่น ตามเกณฑ์ เก็บรวบรวบข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตัวอย่างรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 70.0) โดยพฤติกรรมการดูแลผิวหนังบริเวณที่รับรังสีรักษาพบในระดับสูงเป็นอันดับแรก (ร้อยละ 92.) รองลงมา ได้แก่ การรับประทานอาหารและดื่มน้ำ (ร้อยละ 80.7) การดูแลความสะอาดปากและฟัน (ร้อยละ 74.7) การพักผ่อน นอนหลับ (ร้อยละ 70.0) และการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณที่ฉายแสง (ร้อยละ 53.3) ตามลำดับ และพบว่า การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <0.001 (r=0.955) ส่วนแรงสนับสนุนทางสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา (p-value>0.05) ข้อเสนอแนะ โรงพยาบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดบริการส่งเสริมการดูแลตนเองให้แก่ผู้ป่วย ที่ได้รับรังสีในเรื่องการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณที่ฉายรังสี การดูแลความสะอาดปากและฟัน และเรื่องอาหาร และควรจัดให้ญาติหรือผู้ดูแลมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้เพอื่ ช่วยดูแลสนับสนุนผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractThis study is descriptive research aiming to assess the relationship between perceived self-efficacy to perform self-care behavior, receiving social support, and self-care behaviors of patients with cancer of the head and neck who received radiotherapy. The sample comprised 150 new patients who were diagnosed with cancer of the head and neck who received only radiotherapy at Siriraj Hospital. The research instrument used was an interview schedule developed by the researcher and has been checked for its content validity by experts. The reliability of the instrument was found at a level that was acceptable. The data were collected by interviewing the sample patients individually. The data were analyzed by computing statistics in regard to percentages, arithmetic mean, standard deviation, the Chi-square test and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The research results showed that a high percentage of the sample were males (85.3%) while 14.7 percent were females. About half of the samples were between the ages of 41-60 years old. Most of them were married (76.0%) and 79.3 percent resided in up-country areas. There were 55.3 percent of the samples that had a ‘moderate’ level of perceived self-efficacy in self-care during receiving radiotherapy; almost all of them received a ‘high’ level of social support (94.0%). Most of the samples had a ‘high’ level of each kind of self-care behavior in regard to caring for the skin area that received radiotherapy (92.0%), oral and dental hygiene (74.7%), consumption of food and water (80.7%), rest and sleep (70.0%), and muscle exercise in the area that received radiation (53.3%). A significant relationship was found to have a significantly positive relationship at a ‘high’ level between perceived self-efficacy and self-care behaviors (r=0.955) (p-value <0.001). However, social support was not found to have a relationship with self-care behaviors of the patients with cancer of the head and neck who received radiation (p>0.05). The recommendations are that the related hospitals and organizations should provide services for promoting self-care behaviors of the cancer patients who received radiotherapy. In regard to exercising the muscles that received radiation, it is recommended to have relatives or caretakers participate in the learning process in order to provide care and support to the patients.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 118 (พ.ค.- ส.ค. 2554), 37-54en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63207
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectมะเร็งศีรษะและคอen_US
dc.subjectรังสีรักษาen_US
dc.subjectพฤติกรรมการดูแลตนเองen_US
dc.subjectThai Journal of Health Educationen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษาen_US
dc.title.alternativeRelationship Between Perceived Self-efficacy, Social Support, and Self-care Behavior of Patients with The Head and Neck Cancer Receiving Radiotherapyen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/173890

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-manirat-2554-3.pdf
Size:
2.81 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections