Publication: ประสิทธิผลผลการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Moodle สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา (กรณีศึกษาวิชา วกกฬ 217 การนำเสนอสารสนเทศทางการกีฬา ปีการศึกษา 2556)
Issued Date
2557
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2557), 81-89
Suggested Citation
สุรชาติ อาจทรัพย์, ศิรประภา ขันคา, อภิภู สิทธิภูมิมงคล ประสิทธิผลผลการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Moodle สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา (กรณีศึกษาวิชา วกกฬ 217 การนำเสนอสารสนเทศทางการกีฬา ปีการศึกษา 2556). วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2557), 81-89. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2810
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ประสิทธิผลผลการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Moodle สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา (กรณีศึกษาวิชา วกกฬ 217 การนำเสนอสารสนเทศทางการกีฬา ปีการศึกษา 2556)
Alternative Title(s)
Effectiveness of Moodle E-learning for Kinesiology Students (SPSS 217 Sports Information and Illustration)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Moodle(e-lerning) ในวิชาการนำเสนอสารสนเทศทางการศึกษากับการเรียนการสอนตามปกติ
กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่ 2 จากวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2556 จานวน 78 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 39 คน
ด้วยความสมัครใจ กลุ่มทดลองจะได้รับการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเลคทรอนิกส์ผ่านระบบ Internet เป็นเวลาไม่ต่ากว่า 9 ครั้ง สามารถเข้าเรียนได้แบบไม่จากัด ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบจะได้รับการเรียนการสอน
ตามปกติ จานวน 9 ครั้ง ตามหลักสูตรที่กำหนดไว้ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 75.6 มีอายุระหว่าง 20 – 30 ปี ร้อยละ96.2 ส่วนใหญ่มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถเข้าถึง Internet
ได้ ผลคะแนนเฉลี่ยจำแนกตามองค์ประกอบพบว่าการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์มีคะแนนเฉลี่ยภาพรวมด้านองค์ประกอบวางภาพ ด้านการใช้ตัวอักษร และเทคนิคการใช้โปรแกรมฯ
ดีกว่าการเรียนการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ และสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนในระดับมาก
อย่างไรก็ตามควรปรับปรุงเรื่องความเข้าใจในบทเรียนที่มีต่อบทเรียนผ่านโปรแกรม Moodle การให้บริการด้านวัสดุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และสัญญาณอินเตอร์เน็ต ดังนั้นวิธีการเรียนการสอนผ่าน
สื่ออิเลคทรอนิกส์จึงเป็นทางเลือกสำหรับนักศึกษาได้ทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเองเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนตามปกติ
The research aimed to compare students’satisfaction and level of learning regarding an information technology seminar that was delivered via e-learning (Moodle Content Management System) and via the more traditional in-class learning style. The study sampled 78 second-year students in the College of Sport Science and Technology, Mahidol University in 2013. The group-posttest design voluntarily divided the students into two groups of 39 experiment students (ES) and 39 comparison students (CS). The ES group received the e-learning class through an internet program for at least 9 times without limited attending classes. The CS group received 9 regular classes followed the curriculum of the university. Results of this study found students in the ES group had higher levels of satisfaction with e-learning and learning media than those in the CS group. However they could not understand how to use the Moodle program very well. Average scores, classified from a composition, showed the ES group with e-learning to compose images (p = 0.003*), alphabet layouts (p =0.011*) and technical program uses (p= 0.001*) was significantly higher score than that of the CS group. Although the results suggest a more beneficial outcome of e-learning over the regular style class, this study recommends that it is necessary to improve student understanding of the course and Moodle program, computer parts services, and internet signals. Furthermore, the result strongly suggests that the Moodle program can be a self-learning-based alternative for students to support their regular style learning in face-to-face classes.
The research aimed to compare students’satisfaction and level of learning regarding an information technology seminar that was delivered via e-learning (Moodle Content Management System) and via the more traditional in-class learning style. The study sampled 78 second-year students in the College of Sport Science and Technology, Mahidol University in 2013. The group-posttest design voluntarily divided the students into two groups of 39 experiment students (ES) and 39 comparison students (CS). The ES group received the e-learning class through an internet program for at least 9 times without limited attending classes. The CS group received 9 regular classes followed the curriculum of the university. Results of this study found students in the ES group had higher levels of satisfaction with e-learning and learning media than those in the CS group. However they could not understand how to use the Moodle program very well. Average scores, classified from a composition, showed the ES group with e-learning to compose images (p = 0.003*), alphabet layouts (p =0.011*) and technical program uses (p= 0.001*) was significantly higher score than that of the CS group. Although the results suggest a more beneficial outcome of e-learning over the regular style class, this study recommends that it is necessary to improve student understanding of the course and Moodle program, computer parts services, and internet signals. Furthermore, the result strongly suggests that the Moodle program can be a self-learning-based alternative for students to support their regular style learning in face-to-face classes.