Publication: Effect of denture cleanser containing longan-extract granules on color stability, surface roughness and hardness of a polymeric denture base material.
Accepted Date
2011-04-07
Issued Date
2011-05
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Dentistry Mahidol University
Bibliographic Citation
Udomchaisakul N, Kanchanavasita W, Buajeeb W. Effect of denture cleanser containing longan-extract granules on color stability, surface roughness and hardness of a polymeric denture base material. M Dent J. 2011; 31(2): 73-80.
Suggested Citation
Nalinee Udomchaisakul, นลินี อุดมชัยสกุล, Widchaya Kanchanavasita, วิชญ กาญจนะวสิต, Waranun Buajeeb, วรานนท์ บัวจีบ Effect of denture cleanser containing longan-extract granules on color stability, surface roughness and hardness of a polymeric denture base material.. Udomchaisakul N, Kanchanavasita W, Buajeeb W. Effect of denture cleanser containing longan-extract granules on color stability, surface roughness and hardness of a polymeric denture base material. M Dent J. 2011; 31(2): 73-80.. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1093
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Effect of denture cleanser containing longan-extract granules on color stability, surface roughness and hardness of a polymeric denture base material.
Alternative Title(s)
ผลของน้ำยาล้างฟันเทียมที่มีส่วนประกอบของสารสกัดจากแกรนูลในเมล็ดลำใยต่อเสถียรภาพของสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียม
Corresponding Author(s)
Abstract
Objective: To investigate the change of color, surface roughness and surface
hardness of a PMMA denture base material after immersion in solution
prepared from longan-extract granules compared with denture cleanser
without longan-extract granules and distilled water.
Materials and methods: Circular discs of SR Triplex Hot with 30 mm. in
diameter and 3 mm. in thickness (n=10) were immersed in denture
cleanser containing longan-extract granules, denture cleanser without
longan-extract granules or distilled water for 10 cycles of 30 minutes.
Color stability, surface roughness and hardness were measured before and
after immersion in those solutions for 5th and 10th cycles by using colorimeter,
profilometer and Knoop hardness tester, respectively. Split-Plot
ANOVA was used for analyzing the influence of denture cleanser solutions
and storage times on the surface color stability, surface roughness and
hardness of PMMA denture base material at a 0.05 significant level.
Results and conclusions: The type of denture cleansers and immersion
cycle had no influence on the color change and surface roughness. Also
the result of surface hardness test of between-subjects effects (solution)
and the interaction of both effects were not significant different (p>0.05),
but the tests of within-subjects effects (immersion cycle) was significant
different (p<0.05). So, Knoop hardness test was not modified by any
solutions but decreased over time. The values of NBS ratings which is
the way color changes evaluated by the human eye showed that the color
change of all specimens after immersion in all solutions at 5th and 10th
cycles were çtrace to slighté.
วัตถุประสงค์: เพื่อการศึกษาเสถียรภาพของสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียม ชนิดบ่มตัวด้วยความร้อน หลังจากแช่ในน้ำยาล้างฟันเทียมที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากแกรนูลเมล็ดลำใย เปรียบเทียบกับน้ำยาล้างฟันเทียมที่ไม่มีส่วนผสมของสารสกัดจากแกรนูลเมล็ดลำใย และน้ำกลั่น วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง: นำชิ้นทดลองพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียม (SR Triplex Hot) ชนิดบ่มตัวด้วยความร้อนแผ่นกลมขนาดผ่านศูนย์กลาง 30 มม. หนา 3 มม. แช่ในสารละลาย 3 ชนิดอย่างละ 10 ชิ้น ได้แก่ น้ำยาล้างฟันเทียมที่ไม่มีส่วนผสมของสารสกัดจากแกรนูลเมล็ดลำใย และน้ำกลั่น ปริมาณ 400 มล. เป็นระยะเวลา 30 นาที จำนวน 10 รอบการแช่ วัดสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของชิ้นทดลองเปรียบเทียบก่อนการแช่และหลังจากการแช่ที่รอบที่ 5 และ 10 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แผนทดลองแบบสปิตพลอต เพื่อศึกษาถึงผลของน้ำยาล้างฟันเทียมแต่ละชนิด และระยะเวลาที่ใช้ในการแช่น้ำยาล้างฟันเทียมต่อเสถียรภาพสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียมที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาและสรุปผล: จากการทดลอง พบว่าชนิดของน้ำยาล้างฟันเทียมและระยะเวลาในการแช่ไม่มีผลต่อเสถียรภาพสีและความขรุขระผิวของวัสดุประดิษฐ์ฐานฟันเทียม และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p.0.05) ของ การเปลี่ยนแปลงความแข็งผิวของวัสดุประดิษฐ์ฐานฟันเทียมเมื่อเปรียบเทียบเฉพาะระหว่างระยะเวลาในการแช่พบว่าความแข็งผิวของวัสดุลดลงเมื่อระยะเวลาที่แช่นานขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ(p.0.05) เมื่อนำชิ้นทดลองทั้งหมดไปหาค่า เอ็น บี เอส เพื่อจะศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของสีซึ่งสามารถตรวจพบได้จากสายตามนุษย์ พบว่าหลังจากแช่สารละลายทุกชนิดที่ รอบที่ 5 และ 10 ชิ้นทดลองมีการเปลี่ยนแปลงสีเพียงเล็กน้อย
วัตถุประสงค์: เพื่อการศึกษาเสถียรภาพของสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียม ชนิดบ่มตัวด้วยความร้อน หลังจากแช่ในน้ำยาล้างฟันเทียมที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากแกรนูลเมล็ดลำใย เปรียบเทียบกับน้ำยาล้างฟันเทียมที่ไม่มีส่วนผสมของสารสกัดจากแกรนูลเมล็ดลำใย และน้ำกลั่น วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง: นำชิ้นทดลองพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียม (SR Triplex Hot) ชนิดบ่มตัวด้วยความร้อนแผ่นกลมขนาดผ่านศูนย์กลาง 30 มม. หนา 3 มม. แช่ในสารละลาย 3 ชนิดอย่างละ 10 ชิ้น ได้แก่ น้ำยาล้างฟันเทียมที่ไม่มีส่วนผสมของสารสกัดจากแกรนูลเมล็ดลำใย และน้ำกลั่น ปริมาณ 400 มล. เป็นระยะเวลา 30 นาที จำนวน 10 รอบการแช่ วัดสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของชิ้นทดลองเปรียบเทียบก่อนการแช่และหลังจากการแช่ที่รอบที่ 5 และ 10 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แผนทดลองแบบสปิตพลอต เพื่อศึกษาถึงผลของน้ำยาล้างฟันเทียมแต่ละชนิด และระยะเวลาที่ใช้ในการแช่น้ำยาล้างฟันเทียมต่อเสถียรภาพสี, ความขรุขระผิวและความแข็งผิวของพอลิเมอร์ประดิษฐ์ฐานฟันเทียมที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาและสรุปผล: จากการทดลอง พบว่าชนิดของน้ำยาล้างฟันเทียมและระยะเวลาในการแช่ไม่มีผลต่อเสถียรภาพสีและความขรุขระผิวของวัสดุประดิษฐ์ฐานฟันเทียม และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p.0.05) ของ การเปลี่ยนแปลงความแข็งผิวของวัสดุประดิษฐ์ฐานฟันเทียมเมื่อเปรียบเทียบเฉพาะระหว่างระยะเวลาในการแช่พบว่าความแข็งผิวของวัสดุลดลงเมื่อระยะเวลาที่แช่นานขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ(p.0.05) เมื่อนำชิ้นทดลองทั้งหมดไปหาค่า เอ็น บี เอส เพื่อจะศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของสีซึ่งสามารถตรวจพบได้จากสายตามนุษย์ พบว่าหลังจากแช่สารละลายทุกชนิดที่ รอบที่ 5 และ 10 ชิ้นทดลองมีการเปลี่ยนแปลงสีเพียงเล็กน้อย