Publication: อาเซียน : กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Issued Date
2557-06
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. ปีที่ 32, ฉบับที่ 2 (2557), 89-108.
Suggested Citation
สยาม อรุณศรีมรกต, Sayam Aroonsrimorakot อาเซียน : กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. ปีที่ 32, ฉบับที่ 2 (2557), 89-108.. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48398
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
อาเซียน : กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Alternative Title(s)
ASEAN : Natural Resources and Environmental Conservation Laws
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
มหาศาลและเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของโลก อย่างไรก็ตามในปี 2558 ซึ่งมี
การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในภูมิภาค คือ การเปิดประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community) ซึ่งจะเป็นทั้งปัจจัยเสี่ยงและความท้าทายของการจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของภูมิภาค จึงเป็นสาเหตุที่ควรศึกษากฎหมายสิ่งแวดล้อม
(environmental law) ในประเทศอาเซียน เพื่อให้ทราบถึงมาตรการในการดูแล
จัดการสิ่งแวดล้อมให้ไปในทิศทางเดียวกัน เร่งให้เกิดการร่วมมือระหว่างประเทศ
ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน รวมไปถึงการศึกษา กฎ ระเบียบและ
ข้อบังคับในระดับประเทศ เพื่อหาจุดต่างและความสอดคล้องให้การพัฒนาเป็นไป
ทิศทางเดียวกันทั้งโดยทางตรงและโดยทางอ้อม ปัญหาของประเทศไทย เมียนมาร์
และลาวมีการกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดน้อยกว่า อาจส่งผลให้เกิด
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและปริมาณมลพิษโดยรวมของภูมิภาค
เพิ่มสูงขึ้นในที่สุด การเตรียมความพร้อมในด้านการจัดการ เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นและเพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในประเทศอาเซียน
มีความยั่งยืนต่อไปในอนาคต จึงเป็นประเด็นที่ท้าทาย ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ
จากทุกภาคส่วนในการพัฒนาความสามารถในการรับมือต่อผลกระทบดังกล่าว
ASEAN is one of the most abundance of natural resources and significant food production region. In 2015 the ASEAN community shall be launched together as one community that will enhance the risk of challenge for natural resources and environmental management throughout the region. The significant management tool is law and regulations among ASEAN countries in order to protect and preserve of natural resources and environment in the sustainable aspects. This article tries to study the related law and regulations both direct and indirect in the different and consistent aspects including the effectiveness application of those law and regulations. Thailand, Myanmar and Laos were the weaker countries on law and regulations application compare to others, which will affect their natural resources and environment degradation. The projection on the preparedness of the protection and conservation shall ensure the future sustainable development. The good cooperation among stakeholders would be the significant tool to cope with the specified impacts.
ASEAN is one of the most abundance of natural resources and significant food production region. In 2015 the ASEAN community shall be launched together as one community that will enhance the risk of challenge for natural resources and environmental management throughout the region. The significant management tool is law and regulations among ASEAN countries in order to protect and preserve of natural resources and environment in the sustainable aspects. This article tries to study the related law and regulations both direct and indirect in the different and consistent aspects including the effectiveness application of those law and regulations. Thailand, Myanmar and Laos were the weaker countries on law and regulations application compare to others, which will affect their natural resources and environment degradation. The projection on the preparedness of the protection and conservation shall ensure the future sustainable development. The good cooperation among stakeholders would be the significant tool to cope with the specified impacts.