Publication:
ผลของโปรแกรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเองต่อความรู้ พฤติกรรมและดัชนีสุขภาพในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2

dc.contributor.authorอุระณี รัตนพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorUranee Ratanapitaken_US
dc.contributor.authorกีรดา ไกรนุวัตรen_US
dc.contributor.authorKerada Krainuwaten_US
dc.contributor.authorอภิรดี ศรีวิจิตรกมลen_US
dc.contributor.authorApiradee Sriwijitkamolen_US
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ วิภาวัฒนะen_US
dc.contributor.authorChutatip Vipawattanaen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2018-03-31T15:35:45Z
dc.date.available2018-03-31T15:35:45Z
dc.date.created2561-03-31
dc.date.issued2556
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลของโปรแกรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเองต่อระดับความรู้ พฤติกรรมและดัชนีสุขภาพของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองวิธีการดําเนินการวิจัย: ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ถูกสุ่มเข้าเป็นกลุ่มตัวอย่างจํานวน 117 คน และได้รับการสุ่มเข้าสู่กลุ่มทดลอง 59 คนและกลุ่มควบคุม 58 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเองภายใต้กรอบแนวคิด precede-proceed model และ self-efficacy ขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามและการจดบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา (ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติอ้างอิง (t-test, chi-square, repeated-measures analysis of variance)ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีความรู้ พฤติกรรม น้ําตาลในเลือด น้ําตาลสะสมดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญโปรแกรมมีค่าขนาดอิทธิพลปานกลางถึงสูง ผู้เป็นเบาหวานในกลุ่มทดลองสามารถรักษาพฤติกรรมสุขภาพคงอยู่นาน 18 เดือน สรุปและข้อเสนอแนะ: การให้ความรู้คู่กับการฝึกทักษะ การสนับสนุนของพยาบาลรวมถึงการเยี่ยมบ้านและการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนเป็นแกนสําคัญของโปรแกรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเอง โปรแกรมช่วยให้ผู้เป็นเบาหวานควบคุมน้ําตาลในเลือดและน้ําตาลสะสมได้ดี ผลของโปรแกรมสามารถประยุกต์ใช้ในหน่วยงานอื่นที่คล้ายคลึงกันได้en_US
dc.description.abstractPurpose: This study aimed to assess the effects of a diabetic self-management program onknowledge, behavior, and health indexes among people with type 2 diabetes.Design: Experimental study design.Methods: 117 people with type 2 diabetes were participated in the study. Participants wererandomly selected from the population and randomly assigned into an intervention or a control group.Of all participants, 59 participants were in the intervention group (receiving a diabetic self-managementprogram based on precede-proceed model and self- efficacy theory) and 58 were in the control group(receiving routine care). Data were collected by self-reported questionnaires and self-recorded diary.Data were analyzed using descriptive statistics (percentile, mean and standard deviation), and inferentialstatistics (t-test, chi-square, and repeated-measures analysis of variance).Main findings: The findings showed that participants in the intervention group gained betterknowledge, behavior, fasting blood sugar, and HbA1C than participants in the control groupsignificantly. This diabetic self-management program was effective and had a medium to strong effectsize and participants in the intervention group were able to maintain their healthy behavior for 18months.Conclusion and recommendations: Knowledge, skills training, nurse support including homevisit, and self-efficacy were the cornerstone of this diabetic self-management program. It fostered peoplewith type 2 diabetes to be able to control the level of fasting blood sugar and HbA1C. This programcould be applied for other similar health care agencies.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานโครงการพัฒนางานประจําสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 1 ( ม.ค. -มี.ค. 2556), 7-18en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/10445
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectพฤติกรรมen_US
dc.subjectดัชนีสุขภาพen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectโปรแกรมการจัดการตนเองen_US
dc.subjectผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเองต่อความรู้ พฤติกรรมและดัชนีสุขภาพในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.title.alternativeThe Effects of a Diabetic Self-management Program on Knowledge, Behavior, and Health Indexes among People with Type 2 Diabetesen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/10548

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-kerada-2556.pdf
Size:
205.57 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections