Publication: Reproductive Performance Comparisons of Three Inbred Mice Strains (BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac) at National Laboratory Animal Center, Mahidol University, Thailand
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resource Studies Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Professional Routine to Research. Vol.1 (Aug,2014), 1-5
Suggested Citation
Pornrattana Chumanee, Apisit Laosantisuk, Wanson Keawmanee, Kanchana Kengkoom, Thanaporn Pinpart, พรรัตนา ช่อมณี, อภิสิทธิ์ เหล่าสันติสุข, วสันต์ แก้วมณี, กาญจนา เข่งคุ้ม, ธนพร พิณพาทย์ Reproductive Performance Comparisons of Three Inbred Mice Strains (BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac) at National Laboratory Animal Center, Mahidol University, Thailand. Journal of Professional Routine to Research. Vol.1 (Aug,2014), 1-5. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2621
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Reproductive Performance Comparisons of Three Inbred Mice Strains (BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac) at National Laboratory Animal Center, Mahidol University, Thailand
Alternative Title(s)
การเปรียบเทียบสมรรถภาพการสืบสายพันธุ์หนูเมาส้ เลือดชิด 3 สายพันธุ์ (BALB/cMlac, C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac) ของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย
Corresponding Author(s)
Abstract
Reproductive performance consisting of mean litter size, number of pups that wean (wean: born ratio)
and mean reproductive index of three inbred mice strains, which are BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and
DBA/2Mlac, were investigated to provide some basic information on the breeding and maintaining of a
foundation colony. These strains are designated as specific pathogen free animals (SPF) by the National
Laboratory Animal Center, Mahidol University (NLAC-MU), the organization in which they were housed
under the maximum barrier system. The data from twenty generations of each strain were analyzed by t-test
and non-parametric test. The mean litter size (born) values were 4.6±1, 6.2±1.4 and 4.3±1.0, and the
wean:born ratios were 0.90±0.1, 0.81±0.2 and 0.83±0.2 for BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and
DBA/2Mlac, respectively. Furthermore, their mean reproductive indexes were 1.03, 0.94 and 0.71, respectively. Comparison results of the three inbred strains suggested that the reproductive performance of
BALB/cMlac is better than that of C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac.
สมรรถภาพการสืบสายพันธุ์อันประกอบด้วย ขนาดครอกโดยเฉลี่ย (mean litter size) อัตราส่วนการหย่า นมต่อจำนวนลูกที่เกิด (wean: born ratio) และค่าดัชนีการสืบสายพันธุ์โดยเฉลี่ย (mean reproductive index) ของ หนูเม้าส์เลือดชิดของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลจำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ BALB/cMlac C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac ได้ถูกคำนวณออกมาเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการผสมและดูแลโคโลนี สืบสายพันธุ์โดยหนูเม้าส์เลือดชิดทั้ง 3 สายพันธุ์นี้จัดอยู่ในสถานะสัตว์ปลอดเชื้อจำเพาะ (SPF) และได้รับการ เพาะเลี้ยงอยู่ภายใต้ระบบการเลี้ยงแบบ Maximum barrier ที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษานี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลการสืบสายพันธุ์ของหนูเม้าส์เลือดชิดแต่ละสายพันธุ์จํานวน 20 รุ่นการสืบสายพันธุ์ นํามาคำนวณและวิเคราะห์เปรียบเทียบผลทางสถิติด้วย t-test และ non-parametric test จากผลการคำนวณพบว่า ขนาดครอก (แรกเกิด)โดยเฉลี่ยของหนู BALB/cMlac C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac เป็น 4.6±1 6.2±1.4 และ 4.3±1.0 ตามลำดับ และอัตราส่วนการหย่านมต่อจำนวนลูกที่เกิดโดยเฉลี่ยเป็น 0.90±0.1, 0.81±0.2 และ 0.83±0.2 ตามลำดับเช่นกัน นอกจากนั้นค่าดัชนีการสืบสายพันธุ์โดยเฉลี่ยของทั้ง 3 สายพันธุ์เป็น 1.03 0.94 และ 0.71 จากผลการเปรียบเทียบหนูเม้าส์เลือดชิดทั้ง 3 สายพันธุ์ได้บ่งชี้ ว่าค่าสมรรถภาพการสืบสายพันธุ์ของหนู BALB/cMlac นั้นดีกว่าหนู C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac
สมรรถภาพการสืบสายพันธุ์อันประกอบด้วย ขนาดครอกโดยเฉลี่ย (mean litter size) อัตราส่วนการหย่า นมต่อจำนวนลูกที่เกิด (wean: born ratio) และค่าดัชนีการสืบสายพันธุ์โดยเฉลี่ย (mean reproductive index) ของ หนูเม้าส์เลือดชิดของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลจำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ BALB/cMlac C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac ได้ถูกคำนวณออกมาเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการผสมและดูแลโคโลนี สืบสายพันธุ์โดยหนูเม้าส์เลือดชิดทั้ง 3 สายพันธุ์นี้จัดอยู่ในสถานะสัตว์ปลอดเชื้อจำเพาะ (SPF) และได้รับการ เพาะเลี้ยงอยู่ภายใต้ระบบการเลี้ยงแบบ Maximum barrier ที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษานี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลการสืบสายพันธุ์ของหนูเม้าส์เลือดชิดแต่ละสายพันธุ์จํานวน 20 รุ่นการสืบสายพันธุ์ นํามาคำนวณและวิเคราะห์เปรียบเทียบผลทางสถิติด้วย t-test และ non-parametric test จากผลการคำนวณพบว่า ขนาดครอก (แรกเกิด)โดยเฉลี่ยของหนู BALB/cMlac C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac เป็น 4.6±1 6.2±1.4 และ 4.3±1.0 ตามลำดับ และอัตราส่วนการหย่านมต่อจำนวนลูกที่เกิดโดยเฉลี่ยเป็น 0.90±0.1, 0.81±0.2 และ 0.83±0.2 ตามลำดับเช่นกัน นอกจากนั้นค่าดัชนีการสืบสายพันธุ์โดยเฉลี่ยของทั้ง 3 สายพันธุ์เป็น 1.03 0.94 และ 0.71 จากผลการเปรียบเทียบหนูเม้าส์เลือดชิดทั้ง 3 สายพันธุ์ได้บ่งชี้ ว่าค่าสมรรถภาพการสืบสายพันธุ์ของหนู BALB/cMlac นั้นดีกว่าหนู C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac