Publication: Determinants of condom use at last sex among adult HIV patients on antiretroviral treatment in Mandalay City, Myanmar
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.16, No.3 (Sep-Dec 2018), 67-80
Suggested Citation
Zaw Zaw Oo, Jiraporn Chompikul, Bang-on Thepthien, ซอซอ อู, จิราพร ชมพิกุล, บังอร เทพเทียน Determinants of condom use at last sex among adult HIV patients on antiretroviral treatment in Mandalay City, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol.16, No.3 (Sep-Dec 2018), 67-80. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62147
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Determinants of condom use at last sex among adult HIV patients on antiretroviral treatment in Mandalay City, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดของผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นผู้ใหญ่ ซึ่งมารับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
This hospital based cross-sectional study aimed at determining the prevalence of condom use at last sex within 12 months, and associated factors among HIV patients on antiretroviral treatment (ART) in Mandalay city, Myanmar. The two-stage cluster sampling was used to draw a sample. The data collection was conducted in April 2018. A total of 442 HIV positive patients aged 18 years and older on ART who followed up at the Integrated HIV Care (IHC) clinics in Mandalay City were face to face interviewed using a structured questionnaire. Chi-square test and multiple logistic regression were used to examine associations between independent variables and condom use at last sex. This study revealed 79.6% of HIV positive patients used condom at last sex. Overall, 56.3% were male. Mean age was 39.58 years with standard deviation of 7.99. Nearly 32.6% were having own business and 33.3% graduated higher more than high school level. Only 13.1% were currently living as a single. In Chi-square test, gender, employment status, marital status, self-efficacy to use condom, disclosure of HIV status, fertilitydesire in the last 12 months and HIV status of regular partner were significantly associated with last sex condom use. In multiple logistic regression, male HIV patients (Adj OR=1.88, 95% CI=1.09-3.23), being married/cohabiting (Adj OR=5.10, 95% CI=2.00-12.98), having high self-efficacy to use condom (Adj OR=3.32, 95% CI=1.81-6.10) and no fertility desire (Adj OR=4.23, 95% CI=2.19- 8.16) were more likely to use condom at last sex when controlling for gender, education levels and HIV knowledge levels about transmission and prevention. Couple counselling about conception and specific activities for increasing self-efficacy to use condom for HIV positive patients should be promoted to improve effectiveness of HIV prevention program.
การศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยใช้โรงพยาบาลเป็นฐานในการเก็บข้อมูลนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดภายใน 12 เดือนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเอชไอวีที่มารับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ตัวอย่างในการศึกษานี้ได้ถูกสุ่มมาโดยใช้การสุ่มตัวอย่างกลุ่มแบบสองขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดำเนินการในช่วงเดือนเมษายน พ. ศ. 2561 ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมด 442 คนซี่ง มีอายุ 18 ปีขึ้นไปที่มารับการรักษาที่คลินิกบูรณาการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีในเมืองมัณฑะเลย์ได้รับการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามที่มีโครงสร้าง การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณถูกนำมาใช้เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด การศึกษาครั้งนี้พบว่า 79.6% ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดภายใน 12 เดือน โดยส่วนใหญ่ 56.3% เป็นชาย อายุเฉลี่ย 39.58 ปีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.99 เกือบ 32.6% มีธุรกิจส่วนตัวและ 33.3% จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเพียง 13.1% ที่เป็นโสด ผลการทดสอบไคสแควร์พบว่า เพศ สถานะการจ้างงาน สถานภาพการสมรส ความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัย การเปิดเผยสถานะเอชไอวี ความต้องการในการมีบุตรในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา และภาวะติดเชื้อเอชไอวีของคู่รักปกติ มีความสัมพันธ์กับการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดอย่างมีนัยสำคัญ ผลการวิเคราะห์ด้วยการถดถอยลอจิสติคพหุคูณ พบว่าผู้ป่วยเอชไอวีชาย (Adj OR = 1.88, 95% CI = 1.09-3.23) ผู้ที่แต่งงาน/อยู่ร่วม (Adj OR = 5.10, 95% CI = 2.00-12.98) ความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัยสูง (Adj OR = 3.32, 95% CI = 1.81-6.10) และไม่มีความต้องการมีบุตร (Adj OR = 4.23, 95% CI = 2.19- 8.16) มีแนวโน้ม ที่จะใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดโดยควบคุมอิทธิพลของเพศ ระดับการศึกษาและระดับความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีและการป้องกัน การให้คำแนะนำแก่คู่รักเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และกิจกรรมเฉพาะเพื่อเพิ่มความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัยสำหรับผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีควรได้รับการส่งเสริมเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของโครงการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีค
การศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยใช้โรงพยาบาลเป็นฐานในการเก็บข้อมูลนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดภายใน 12 เดือนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเอชไอวีที่มารับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ตัวอย่างในการศึกษานี้ได้ถูกสุ่มมาโดยใช้การสุ่มตัวอย่างกลุ่มแบบสองขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดำเนินการในช่วงเดือนเมษายน พ. ศ. 2561 ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมด 442 คนซี่ง มีอายุ 18 ปีขึ้นไปที่มารับการรักษาที่คลินิกบูรณาการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีในเมืองมัณฑะเลย์ได้รับการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามที่มีโครงสร้าง การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณถูกนำมาใช้เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด การศึกษาครั้งนี้พบว่า 79.6% ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดภายใน 12 เดือน โดยส่วนใหญ่ 56.3% เป็นชาย อายุเฉลี่ย 39.58 ปีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.99 เกือบ 32.6% มีธุรกิจส่วนตัวและ 33.3% จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเพียง 13.1% ที่เป็นโสด ผลการทดสอบไคสแควร์พบว่า เพศ สถานะการจ้างงาน สถานภาพการสมรส ความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัย การเปิดเผยสถานะเอชไอวี ความต้องการในการมีบุตรในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา และภาวะติดเชื้อเอชไอวีของคู่รักปกติ มีความสัมพันธ์กับการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดอย่างมีนัยสำคัญ ผลการวิเคราะห์ด้วยการถดถอยลอจิสติคพหุคูณ พบว่าผู้ป่วยเอชไอวีชาย (Adj OR = 1.88, 95% CI = 1.09-3.23) ผู้ที่แต่งงาน/อยู่ร่วม (Adj OR = 5.10, 95% CI = 2.00-12.98) ความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัยสูง (Adj OR = 3.32, 95% CI = 1.81-6.10) และไม่มีความต้องการมีบุตร (Adj OR = 4.23, 95% CI = 2.19- 8.16) มีแนวโน้ม ที่จะใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดโดยควบคุมอิทธิพลของเพศ ระดับการศึกษาและระดับความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีและการป้องกัน การให้คำแนะนำแก่คู่รักเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และกิจกรรมเฉพาะเพื่อเพิ่มความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัยสำหรับผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีควรได้รับการส่งเสริมเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของโครงการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีค