Publication: Factors Related to Needs in Palliative Care among Patients with Hepatocellular Carcinoma
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
Le Thi Hien, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Wallada Chanruangvanich, อรพรรณ โตสิงห์, Orapan Thosingha (2017). Factors Related to Needs in Palliative Care among Patients with Hepatocellular Carcinoma. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44108
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Needs in Palliative Care among Patients with Hepatocellular Carcinoma
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยมะเร็งตับ
Abstract
Purpose: To identify relationships between physical symptoms, anxiety and depression, social support, and needs in palliative care among patients with hepatocellular carcinoma (HCC).
Design: Descriptive correlational study.
Methods: The study was conducted among 115 patients with HCC at the Nuclear Medicine and Oncology Center in Hanoi, Vietnam. Data were collected from the patients’ record and interviewed using demographic questionnaire, the Cohen-Hoberman Inventory of Physical Symptoms scale (CHIPS), the Hopkins Symptoms Checklist-25 scale (HSCL- 25), the Multidimensional Scale Perceived Social Support (MSPSS), and the Problems and Needs in Palliative Care-short version (PNPC-sv). Spearman’s rho was employed to test the relationship among studied variables.
Main findings: Physical symptoms, anxiety, and depression were significant positively correlated with needs in palliative care (rs = .775, rs = .828, p < .05). Social support had a significant negative correlation with needs in palliative care (rs = - .307, p < .05).
Conclusion and recommendations: Nurses should assess and manage patients’ symptoms, control their psychology and promote their social support. To improve palliative care, standard guidelines for symptom management in palliative care should be developed and implemented.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ระหว่างอาการทางกาย ความวิตกกังวลและซึมเศร้า และความสนับสนุนทางสังคม กับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยมะเร็งตับ รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งตับ จำนวน 115 คน ที่มารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เมืองฮานอย ประเทศเวียตนาม เก็บข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และใช้แบบสอบถามประเมินอาการทางกาย (CHIPS) ความวิตกกังวล (HSCL- 25 scale) การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง (PNPC-sv) จากนั้นหาค่าความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: อาการทางกาย ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า มีสัมพันธ์เชิงบวกกับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .775, rs = .828, p < .05) การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = - .307, p < .05). สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินอาการไม่สุขสบายด้านร่างกาย จิตใจ และส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ป่วย ตลอดจนพัฒนาแนวปฏิบัติมาตรฐานเพื่อการดูแลแบบประคับประคอง
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ระหว่างอาการทางกาย ความวิตกกังวลและซึมเศร้า และความสนับสนุนทางสังคม กับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยมะเร็งตับ รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งตับ จำนวน 115 คน ที่มารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เมืองฮานอย ประเทศเวียตนาม เก็บข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และใช้แบบสอบถามประเมินอาการทางกาย (CHIPS) ความวิตกกังวล (HSCL- 25 scale) การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง (PNPC-sv) จากนั้นหาค่าความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: อาการทางกาย ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า มีสัมพันธ์เชิงบวกกับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .775, rs = .828, p < .05) การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = - .307, p < .05). สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินอาการไม่สุขสบายด้านร่างกาย จิตใจ และส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ป่วย ตลอดจนพัฒนาแนวปฏิบัติมาตรฐานเพื่อการดูแลแบบประคับประคอง