Publication: Vegetables from the mangrove areas
Issued Date
2002-06
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Pharmacy Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.9, No.1 (2002), 1-12
Suggested Citation
Nuntavan Bunyapraphatsara, Vimol Srisukh, Aranya Jutiviboonsuk, Prapinsara Sornlek, Wilaiwan Thongbainoi, Wongsatit Chuakul, Fong, Harry H.S., Pezzuto, John M., Kosmeder, Jerry Vegetables from the mangrove areas. Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.9, No.1 (2002), 1-12. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3241
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Vegetables from the mangrove areas
Alternative Title(s)
ผักพื้นบ้านในป่าชายเลน
Other Contributor(s)
Abstract
Survey of the mangrove areas in Nakorn Srithammarat and Trang provinces found 33 species
of edible plants. We attempted to evaluate the nutritional and medical values of these plants. Due to the
seasonal availability and unpleasant taste of the plants, only 20 samples of 19 plants were analyzed for
their nutritional values: the water content, crude protein, crude fat, dietary fiber, ash, carbohydrate
contents, along with the calcium content. Among these edible plants, Rhizophora mucronata Poir
contained the highest dietary fiber and calcium contents; several other plants were rich in dietary fiber
and calcium as well. The medical values of the plants were based on the antioxidant, lipid peroxidation
and cancer chemoprevention. The pods of Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny showed strong quinone
reductase inhibition. Further studies on isolation of active components are being carried out.
จากการสำรวจผักพื้นบ้านในป่าชายเลนโดยการสัมภาษณ์ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ พบพืชที่รับประทานได้ 33 ชนิด ในจำนวนนี้เก็บตัวอย่างได้ 20 ตัวอย่าง 19 ชนิด เนื่องจากบางชนิดไม่ใช่ฤดูกาล และบางชนิดไม่น่ารับประทาน ทำการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ โดยการหาปริมาณน้ำ โปรตีน ไขมัน เส้นใย อาหาร เถ้า คาร์โบไฮเดรต และแคลเซียม ในจำนวนพืชผักเหล่านี้ โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata Poir) มีปริมาณเส้นใยอาหาร และแคลเซียมสูงที่สุด ในขณะที่พืชอื่นมีปริมาณเส้นใยอาหารและแคลเซียมสูงเช่นกัน การศึกษาในด้าน ประโยชน์ทางการแพทย์ ทำการทดลองโดยตรวจสอบฤทธ์ิ antioxidant, การศึกษา lipid peroxidation และฤทธ์ิ ป้องกันมะเร็ง พืชที่ให้ผลคือ พังกาหัวสุมดอกแดง (Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny) ซึ่งอยู่ในระหว่างการ ศึกษาเพื่อแยกหาสารออกฤทธ์ิ
จากการสำรวจผักพื้นบ้านในป่าชายเลนโดยการสัมภาษณ์ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ พบพืชที่รับประทานได้ 33 ชนิด ในจำนวนนี้เก็บตัวอย่างได้ 20 ตัวอย่าง 19 ชนิด เนื่องจากบางชนิดไม่ใช่ฤดูกาล และบางชนิดไม่น่ารับประทาน ทำการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ โดยการหาปริมาณน้ำ โปรตีน ไขมัน เส้นใย อาหาร เถ้า คาร์โบไฮเดรต และแคลเซียม ในจำนวนพืชผักเหล่านี้ โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata Poir) มีปริมาณเส้นใยอาหาร และแคลเซียมสูงที่สุด ในขณะที่พืชอื่นมีปริมาณเส้นใยอาหารและแคลเซียมสูงเช่นกัน การศึกษาในด้าน ประโยชน์ทางการแพทย์ ทำการทดลองโดยตรวจสอบฤทธ์ิ antioxidant, การศึกษา lipid peroxidation และฤทธ์ิ ป้องกันมะเร็ง พืชที่ให้ผลคือ พังกาหัวสุมดอกแดง (Bruguiera gymnorrhiza (L.) Savigny) ซึ่งอยู่ในระหว่างการ ศึกษาเพื่อแยกหาสารออกฤทธ์ิ