Publication:
การศึกษาเชิงดุริยางคศาสตร์ชาติพันธุ์ : ปี่อ้อของกลุ่มชนชาวเขมรถิ่นไทยจังหวัดสุรินทร์

dc.contributor.authorอนรรฆ จรัณยานนท์en_US
dc.contributor.authorAnak Charanyanandaen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์. ภาควิชาดนตรีวิทยาen_US
dc.date.accessioned2022-03-24T07:46:30Z
dc.date.available2022-03-24T07:46:30Z
dc.date.created2565-03-24
dc.date.issued2561
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ดุริยางคศาสตร์ชาติพันธุ์ของเครื่องดนตรีปี่อ้อในสังคมวัฒนธรรมกลุ่มชนชาวเขมรถิ่นไทยจังหวัด สุรินทร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาดุริยางศาสตร์ชาติพันธุ์ ในด้านบริบททางสังคมวัฒนธรรม และ เครื่องดนตรีวิทยา ของเครื่องดนตรีปี่อ้อ รวมทั้งด้านดนตรีเชิงระบบ วิธีดำเนินการวิจัยในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยทาง ดุริยางคศาสตร์ชาติพันธุ์ และ เก็บรวบรวมข้อมูลหลักโดยใช้การสัมภาษณ์บุคคลผู้ให้ข้อมูลคุณภาพ และ การสังเกต เหตุการณ์ ในการออกศึกษาพื้นที่ภาคสนาม ผลการวิจัยพบว่า ปี่อ้อ (Pi-oo) เป็นเครื่องดนตรีตระกูลเครื่องเป่าลิ้นเดี่ยว ที่ใช้ในสังคมวัฒธรรมชาวเขมร ถิ่นไทย จังหวัดสุรินทร์ พบในพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอปราสาท ปรากฏอยู่ในวงดนตรีพื้นบ้านกันตรึมมายาวนาน ทำหน้าที่เป็นเครื่องดนตรีบรรเลงทำนองหลักในวง และทำนองประดับการขับร้อง วัสดุที่ใช้ทำแบ่งออกเป็นไผ่รวก ทำส่วนลำตัว และไม้อ้อ ทำลิ้นปี่แบบบีบดัดประกบ มีช่วงเสียงกว้าง 1 ช่วงทบ ใช้โน้ตหลักคือ F A♭ B♭ C D♭ E♭ เทคนิคการบรรเลงจะมีการบังคับริมฝีปากควบคุมความสั่นสะเทือน เสียงปี่อ้อมีลักษณะทุ้มต่ำเป็นการสร้างสมดุล กับเสียงซอตรัวที่ให้เสียงสูง การเป่าระบายลมทำให้ปี่อ้อมีเสียงดังต่อเนื่อง ปรากฏเป็นเสียงหึ่ง (Drone) ในขณะที่ ทำนองเพลงดำเนินไป รายละเอียดของเทคนิคประดับประดา การใช้ Wavering tone, trill เป็นคู่ 2-3, Turn, โน้ต สะบัด, ประ, กูลล์ การใช้งานในสังคมวัฒนธรรมชาวเขมรถิ่นไทย มีทั้งงานกิจกรรมสังคมที่เป็นมงคลและอวมงคล รวมทั้งการใช้ดนตรีประกอบพิธีรักษาไข้en_US
dc.description.abstractThis research project entitled Ethnomusicology Study of the Pi-oo of Khmer-Thai Ethic People in Surin province, Thailand; aims to study ethnomusicology of the Pi-oo in aspects of socio-cultural and organological contexts as well as systematic study. Ethnomusicological research methodology was employed. Data collecting was conducted by having formally and informally interviewed the qualitative key informants including native musicians, instrument makers and musical acknowledge person. Results show that the Pi-oo has been a significant musical instrument of the Khmer people for a long time ago. It is still prevailed among the Khmer native people particularly in the areas of Muang district and Prasaat district. The Pi-oo has always been using to be the principal instrument in the Kantrum ensemble functioning supporting the singing and other instrumental solo. While the Pi-oo functions as the improvised supporter, various specific idiomatic techniques are manipulated into the melodic elaboration. The Pi-oo has two parts: the reed part and the body. The reed part is made from thin slices off a short reed plant pipe end pressed together to form a double reed. The reed is inserted at one end of the body which is made of a bamboo tube. The approximate performing pitches in the Pi-oo’s linear scale of F A♭ B♭ C D♭ E♭ respectively. The unique sound of the Pi-oo are familiarly appeared in the ornamenting of drone, wavering tone, trill by seconds or thirds, turn, grace note, and, very much special for the Pi-oo, gool (a Pi-oo specific identical cadential formula).en_US
dc.identifier.citationวารสาร Mahidol Music Journal. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (ก.ย. 2561-ก.พ. 2562), 25-39en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64393
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectดุริยางคศาสตร์ชาติพันธุ์en_US
dc.subjectเครื่องดนตรีปี่อ้อen_US
dc.subjectดนตรีกันตรึมen_US
dc.subjectดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้en_US
dc.subjectPi-ooen_US
dc.subjectEthnomusicologyen_US
dc.subjectKantrum musicen_US
dc.subjectIndigenous music in the lower northeast Thailanden_US
dc.subjectวารสาร Mahidol Music Journalen_US
dc.titleการศึกษาเชิงดุริยางคศาสตร์ชาติพันธุ์ : ปี่อ้อของกลุ่มชนชาวเขมรถิ่นไทยจังหวัดสุรินทร์en_US
dc.title.alternativeEthnomusicological Study of the Pi-oo of Khmer-Thai Ethnic People in Surin Provinceen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.music.mahidol.ac.th/mmj/

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ms-ar-anak-2561.pdf
Size:
378.06 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections