Publication: การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2560
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 4, (ส.ค. 2560), 67-75
Suggested Citation
คำรณ โชธนะโชติ, Khamron Chotanachote การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 4, (ส.ค. 2560), 67-75. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56401
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล
Alternative Title(s)
Governance Based on Good Governance Principles of Mahidol University.
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยหลักธรรมาภิบาลกับการบริหารมหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน มหาวิทยาลัยมหิดลต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล จำแนกตามข้อมูลทั่วไป เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 420 คน ใช้สูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) โดยใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) กำหนดค่าความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างเท่ากับ 0.05 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-Test) ในกรณีตัวแปรต้น 2 กลุ่ม และทดสอบค่าเอฟ (F-Test) โดยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในกรณีตัวแปรต้นตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป ผลการวิจัย พบว่า การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของมหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.76 คะแนน) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้าน คือ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักนิติธรรม และด้านหลักความโปร่งใส อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.93, 3.88, 3.77, 3.70, 3.66 และ 3.63 คะแนน ตามลำดับ) และเมื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานมหาวิทยาลัยมหิดลต่อการบริหารงานตาม หลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล จำแนกตามข้อมูลทั่วไป พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลา ปฏิบัติงาน ตำแหน่งทางการบริหาร ตำแหน่งทางวิชาการ ตำแหน่งชำนาญการ/งาน ประเภทของผู้ปฏิบัติงาน หน่วยงานที่สังกัด ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยมหิดล แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
The objectives of this research are to study the administration according to the good governance codes of Mahidol University. The opinions towards the good governance administration of the workers employed by Mahidol University are compared according to general factors. The data is collected via stratified random sampling from the sample of 420 people, according to the Taro-Yamane formula. At p = 0.05, the data is analyzed using the frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-Test with 2 sets of independent variables, and F-Test via One-Way ANOVA with more than 3 independent variables. The study found that 1.) The overall good governance in administration was found to be in a high level (X ̅=3.76); and when each aspects is considered, the aspects of responsibility, value, ethics, participation, rule of law, and transparency are found to be in a high level ( x ̅ = 3.93, 3.88, 3.77, 3.70, 3.66, and 3.63, respectively. 2.) The opinions of the workers toward the good governance administration of the university, classified and compared by general data, reported that differences in gender, age, education, work duration, executive position, academic / expertise ranking, type of workers, and affiliation have significantly different opinions toward the good governance administration of the university at p = 0.05.
The objectives of this research are to study the administration according to the good governance codes of Mahidol University. The opinions towards the good governance administration of the workers employed by Mahidol University are compared according to general factors. The data is collected via stratified random sampling from the sample of 420 people, according to the Taro-Yamane formula. At p = 0.05, the data is analyzed using the frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-Test with 2 sets of independent variables, and F-Test via One-Way ANOVA with more than 3 independent variables. The study found that 1.) The overall good governance in administration was found to be in a high level (X ̅=3.76); and when each aspects is considered, the aspects of responsibility, value, ethics, participation, rule of law, and transparency are found to be in a high level ( x ̅ = 3.93, 3.88, 3.77, 3.70, 3.66, and 3.63, respectively. 2.) The opinions of the workers toward the good governance administration of the university, classified and compared by general data, reported that differences in gender, age, education, work duration, executive position, academic / expertise ranking, type of workers, and affiliation have significantly different opinions toward the good governance administration of the university at p = 0.05.