Publication:
รูปแบบการอภิบาลในการจัดการทรัพยากรป่าชายเลน

dc.contributor.authorพลัฐวัษ วงษ์พิริยชัยen_US
dc.contributor.authorชมภูนุช หุ่นนาคen_US
dc.contributor.authorศิริพร แย้มนิลen_US
dc.contributor.authorประภาส ปิ่นตบแต่งen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2022-07-06T01:55:35Z
dc.date.available2022-07-06T01:55:35Z
dc.date.created2565-07-06
dc.date.issued2562
dc.description.abstractทฤษฎีการอภิบาล เป็นทฤษฎีที่อยู่ในกระบวนทัศน์รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคปัจจุบันตามแนวคิดของนักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นิโคลัส เฮนรี่ ซึ่งนับเป็นทฤษฎีที่นำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญเกี่ยวกับมุมมองในการบริหารงานภาครัฐ จากเดิมที่เชื่อว่า ภาครัฐเป็นผู้กำกับ สั่งการ รวมศูนย์อำนาจในการบริหารเพียงลำพัง เปลี่ยนเป็นมีเครือข่าย สถาบันที่หลากหลายเข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมมากขึ้น ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และประชาชน เรียกได้ว่า พลเมืองตื่นตัว ตื่นรู้ และลุกขึ้นมาจัดการตนเอง เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาสังคม ซึ่งรวมถึงการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนด้วย ภายใต้บริบทของสภาพทรัพยากรป่าชายเลนและสภาพสังคมไทย สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการอภิบาลออกมาเป็นรูปแบบการอภิบาลในการจัดการทรัพยากรป่าชายเลน ครอบคลุม 3 ด้าน คือ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ด้านการฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน และด้านการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าชายเลน ซึ่งประกอบด้วย 6 มิติ ได้แก่ 1) การอภิบาลแบบมีส่วนร่วม 2) การอภิบาลแบบเครือข่าย 3) การอภิบาลแบบชุมชน 4) การอภิบาลแบบจัดการตัวเอง 5) การอภิบาลแบบปรึกษาหารือ และ 6) การอภิบาลแบบปรับตัวen_US
dc.description.abstractTheory of governance is a theory in public administration paradigm in modern times by the idea of scholars in the public administration science. Especially Nicholas Henry which is the theory that leads to important changes on view in public administration.From the original who believe the government is director, command center of power in administration alone. Change into a network. A variety of institutions in the role and more involved, both public and private sector, civil society, community and people.Called citizen alert, awake, and rise to self-management for solve social problems which includes the mangrove resources management. Under the contexts of mangrove resources and Thai society can analyze and synthesize concepts and theories about the pastoral out is a form of pastoral in the management of forest cover 3aspects of forest conservation the restoration of forest and the utilization of mangrove resources, which consists of 6dimensions, including 1)participatory governance 2) network governance 3) community governance 4) societal self-governance 5) deliberative governance and 6) adaptive governance.en_US
dc.identifier.citationวารสารสหศาสตร์. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 30-49en_US
dc.identifier.issn1513-8429
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72031
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการอภิบาลen_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.subjectทรัพยากรป่าชายเลนen_US
dc.subjectGovernanceen_US
dc.subjectManagementen_US
dc.subjectMangrove Forest Resourcesen_US
dc.titleรูปแบบการอภิบาลในการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนen_US
dc.title.alternativeModel of Governance in Mangrove Forest Resources Managementen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/sahasart/article/view/212275/147258

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections