Publication:
ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีภาวะน้ำหนักเกิน

dc.contributor.authorลิวรรณ อุนนาภิรักษ์en_US
dc.contributor.authorLiwan Ounnapiruken_US
dc.contributor.authorวีนัส ลีฬหกุลen_US
dc.contributor.authorVenus Leelahakuen_US
dc.contributor.authorอรุณรัศมี บุนนาคen_US
dc.contributor.authorAroonrasamee Bunnagen_US
dc.contributor.authorชุติมา อัตถากรโกวิทen_US
dc.contributor.authorChutima Autthakornkovien_US
dc.contributor.authorไพโรจน์ ลีฬหกุลen_US
dc.contributor.authorPairoj Leelahakulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2018-01-18T17:22:11Z
dc.date.available2018-01-18T17:22:11Z
dc.date.created2018-01-18
dc.date.issued2554
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : เพื่อทดสอบผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายในนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีภาวะน้ำหนักเกิน รูปแบบการวิจัย : การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย : คัดเลือกโรงเรียนในสังกัดของรัฐบาล เขตบางกอกน้อย ที่ผู้วิจัยรับผิดชอบ ซึ่งมีปัญหาโภชนาการเกิน 3 โรงเรียนและสุ่มนักเรียน เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 51 คน ในกลุ่มทดลองจะเข้าค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเป็นเวลา 2 วันและติดตามให้ความรู้ ให้คำปรึกษา กระตุ้น เตือน เฝ้าระวังด้วยตนเอง ประชุมกลุ่มร่วมกับบิดามารดาและครู และประเมินผลจากการทำกิจกรรม เป็นระยะเวลา 24 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมให้ดำเนินชีวิตตามปกติ ผลการวิจัย : ก่อนเริ่มโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีกิจกรรมทางกายไม่แตกต่างกัน ภายหลังได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มทดลองใช้เวลาดูโทรทัศน์ลดลงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ส่วนกิจกรรมทางกายอื่นๆ ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มระหว่างก่อนและหลังเข้าโปรแกรมฯ พบว่ากลุ่ม ทดลองใช้ระยะเวลาในการเล่นวิดีโอเกม หรืออินเทอร์เน็ต ลดลงจากก่อนเริ่ม โปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ส่วนกิจกรรมทางกายอื่นๆ ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีกิจกรรมทางกายทุกกิจกรรมไม่แตกต่างกันตลอดเวลาในโปรแกรมฯ กลุ่มทดลองมีแนวโน้มทำกิจกรรมที่ใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในวันธรรมดาและวันหยุด สรุปและข้อเสนอแนะ : โรคอ้วนในเด็กเป็นปัญหาวิกฤตทางสุขภาพที่เกิดขึ้นทั่วโลก จึงควรมีการปลูกฝังพฤติกรรมการออกกำลังกายและการมีวิถีชีวิตที่มี การเคลื่อนไหว และมีการใช้พลังงานในเด็กอย่างต่อเนื่องen_US
dc.description.abstractPurpose: To examine the effects of a health promotion program on the physical activities pattern of overweight primary school children. Design: Quasi-experimental research. Methods: One hundred and two free-living overweight children from 3 supervisory governmental primary schools in Bangkoknoi district were recruited, then randomly assigned to either experimental (n=51) or control group (n=51). Health Promotion Program of experimental group were including a 2 day daycamping at the beginning of study and provided continuous health education, counseling, empowerment, self monitoring and focus group discussion with their parent and school teacher for 24 weeks while the control group continued their ordinary lifestyles. Main findings: Before Health Promotion Program, there were not significant difference in the physical activities between the control and experimental group. After participating the program, the experimental group spent time for watching television significantly lower than control group (p < .05) while the other physical activities between groups were not significant difference. The comparison of physical activities between before and after participating the program showed that the experimental group spent time for viewing videogames/internet lower than those before the program significantly (p < .05) while the most physical activities were not significant difference and all physical activities of the control group were not significant difference. During the program, the experimental group trended increasingly active activities both week day and holiday. Conclusion and recommendations: Childhood obesity is a global health crisis. Therefore, the promotion of exercise and active life style should be reinforced and maintained in the children.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ.เพิ่มเติม 1), ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2554), 15-26en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3348
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectเด็กน้ำหนักเกินen_US
dc.subjectโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการทำกิจกรรมทางกายen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีภาวะน้ำหนักเกินen_US
dc.title.alternativeThe Effects of A Health Promotion Program on the Physical Activity in Overweight Primary School Childrenen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/2805

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-liwan-2554.pdf
Size:
2.27 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections