Publication: Aboveground carbon contern in mixed deciduous forest and teak plantations
Issued Date
2007-06
Language
eng
ISSN
1686-6096
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resource Studies Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.1 (June 2007),1-10
Suggested Citation
Supawan Petsri, Nathsuda Pumijumnong, Chongrak Wachrinrat, Somchai Thoranisorn, นาฎสุดา ภูมิจำนงค์ Aboveground carbon contern in mixed deciduous forest and teak plantations. Environment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.1 (June 2007),1-10. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48329
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Aboveground carbon contern in mixed deciduous forest and teak plantations
Alternative Title(s)
ปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในป่าเบญจพรรณและสวนป่าสัก
Other Contributor(s)
Abstract
This work has been carried out in September 2003, to compare aboveground carbon content in the mixed deciduous forest, located at Hauy Kha Kaeng Wildlife Sanctuary, and in the teak plantation of teaks aged 6, 10, 15, 23 and 24 years old, from Thai Plywood Co. Ltd. Both study sites were located in Lansak district, Uthaithani province by conducting. The calculated aboveground carbon content of those areas were 50% of the total aboveground biomass. Allometric equation was applied to find the aboveground biomass of tree stands. Samplings, undergrowth, bamboo and litter were dried at 80 oC for 48 hours, then the percentages of moisture content were used to estimate the aboveground biomass content. The results showed that the establishment of a teak plantation over an area where there has once been a mixed deciduous forest has as great a potential of carbon storage as that found in the mixed deciduous forest. Moreover, the aboveground carbon content was likely to increase according to age. That is to say, the aboveground carbon content found in the teak plantation trees aged 6, 10, 15, and 23 and 24 years old and in the mixed deciduous forest was 39.51, 40.82, 33.87, 55.23, 41.13 and 71.60 t ha-1, respectively. Furthermore, the density of stands were positively relative to the aboveground carbon content. Namely, the greater the density of tree stands, the greater the aboveground carbon content.
งานวิจัยนี้ได้ดำเนินการในเดือนกันยายน พ.ศ. 2546 เพื่อเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในป่าเบญจพรรณ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อ.ลานสัก อุทัยธานี และสวนป่าสักอายุ 6, 10, 15, 23 และ 24 ปี ของบริษัทไม้อัดไทย จากัด อ.ลานสัก อุทัยธานี จากการคำนวณพื้นที่ศึกษาพบมีปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินร้อยละ 50 ของปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน การหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้ใหญ่ ใช้สมการ allometric relation ส่วนไม้หนุ่ม ไม้พื้นล่าง ไผ่ และซากพืช ตัวอย่างพืชและซากพืชจะถูกอบแห้งที่อุณหภูมิ 80 oซ เป็นเวลา 48 ชั่วโมง เพื่อนำค่าความชื้นไปประมาณหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการปลูกสร้างสวนป่าสักในพื้นที่ที่เคยเป็นป่าเบญจพรรณมาก่อนมีศักยภาพในการสะสมคาร์บอนเหนือพื้นดินใกล้เคียงกับป่าเบญจพรรณ และปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในสวนป่าสัก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามอายุสวนป่า โดยปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในสวนป่าสักอายุ 6, 10, 15, 23 และ 24 ปี และป่าเบญจพรรณ มีค่าเท่ากับ 39.51, 40.82, 33.87, 55.23, 41.13 และ 71.60 ตัน/เฮกแตร์ ตามลำดับ นอกจากนี้ ความหนาแน่นของต้นไม้มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน กล่าวคือเมื่อความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้นปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน
งานวิจัยนี้ได้ดำเนินการในเดือนกันยายน พ.ศ. 2546 เพื่อเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในป่าเบญจพรรณ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อ.ลานสัก อุทัยธานี และสวนป่าสักอายุ 6, 10, 15, 23 และ 24 ปี ของบริษัทไม้อัดไทย จากัด อ.ลานสัก อุทัยธานี จากการคำนวณพื้นที่ศึกษาพบมีปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินร้อยละ 50 ของปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน การหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้ใหญ่ ใช้สมการ allometric relation ส่วนไม้หนุ่ม ไม้พื้นล่าง ไผ่ และซากพืช ตัวอย่างพืชและซากพืชจะถูกอบแห้งที่อุณหภูมิ 80 oซ เป็นเวลา 48 ชั่วโมง เพื่อนำค่าความชื้นไปประมาณหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการปลูกสร้างสวนป่าสักในพื้นที่ที่เคยเป็นป่าเบญจพรรณมาก่อนมีศักยภาพในการสะสมคาร์บอนเหนือพื้นดินใกล้เคียงกับป่าเบญจพรรณ และปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในสวนป่าสัก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามอายุสวนป่า โดยปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินในสวนป่าสักอายุ 6, 10, 15, 23 และ 24 ปี และป่าเบญจพรรณ มีค่าเท่ากับ 39.51, 40.82, 33.87, 55.23, 41.13 และ 71.60 ตัน/เฮกแตร์ ตามลำดับ นอกจากนี้ ความหนาแน่นของต้นไม้มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน กล่าวคือเมื่อความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้นปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดินเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน