Publication: การประเมินภาวะสุขภาพและความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2518
Issued Date
2555
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2555), 320-334
Suggested Citation
รุ่งทิพา บูรณะกิจเจริญ, สิรยา พิมพไกร, Rundtipa Buranakitcharoen, Siraya Pimpakai การประเมินภาวะสุขภาพและความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2518. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2555), 320-334. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79803
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การประเมินภาวะสุขภาพและความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2518
Alternative Title(s)
Assessment of the Personnel's Health Status and Health Risk Problems at Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital in 2008
Other Contributor(s)
Abstract
บทนำ: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีให้ความสำคัญกับสุขภาพของบุคลากร จึงจัดให้มีการตรวจสุขภาพ การวิจัยนี้เป็นแบบ Cross-sectional study เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพของบุคลากรประจำปี พ.ศ. 2551 โดยใช้แบบสอบถามและผลการตรวจสุขภาพ
ผลการวิจัย: บุคลากรที่มาตรวจสุขภาพ จำนวน 2,712 คน คิดเป็นร้อยละ 42.74 ตอบแบบประเมิน จำนวน 3,060 คน คิดเป็นร้อยละ 47.9 พบปัญหาดังนี้ 1) น้ำหนักเกิน จำนวน 452 คน คิดเป็นร้อยละ 18 โรคอ้วน จำนวน 658 คน คิดเป็นร้อยละ 26.2 2) อ้วนลงพุง จำนวน 847 คน คิดเป็นร้อยละ 34.9 Metabolic syndrome จำนวน 223 คน คิดเป็นร้อยละ 8.2 3) โลหิตจาง จำนวน 321 คน คิดเป็นร้อยละ12.8 4) โคเลสเตอรอลสูง จำนวน 360 คน คิดเป็นร้อยละ21.1 ไตรกลีเซอไรด์สูง จำนวน 282 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 HDL ต่ำ จำนวน 434 คน คิดเป็นร้อยละ 27.5 LDL สูง จำนวน 883 คน คิดเป็นร้อยละ 55.9 5) น้ำตาลในเลือดสูง จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 4.6 6) ความดันเลือดสูง จำนวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 7) คนงานน้ำหนักเกิน อ้วนลงพุง ไขมันในเลือดพุง ความดันโลหิตสูง มากกว่าลักษณะงานอื่น โลหิตจางพบมากที่สุดกับงานพยาบาล/ผู้ช่วยพยาบาล 8) ตรวจเต้านม (Mammogram) ผิดปกติ จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 9) เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 1-5 ในอีก 10 ปี จำนวน 653 คน คิดเป็นร้อยละ 24.1 10) ไม่เคยรับวัคซีนตับอักเสบไวรัสบี/ ไม่ทราบ จำนวน 1,963 คน คิดเป็นร้อยละ 64.3 11) สูบบุหรี่ จำนวน 154 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 ดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 585 คน คิดเป็นร้อยละ 19.1 สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 3.4 12) บริโภคอาหารรสหวาน เค็ม และมัน 13) ออกกำลังกายที่ใช้แรงปานกลางถึงมาก จำนวน 2,479 คน คิดเป็นร้อยละ 81.3 และเคลื่อนไหวร่างกายน้อยกว่า 10 นาที จำนวน 335 คน คิดเป็นร้อยละ 11
Due to great concern over the personnel’s health and health risks, the Faculty has approved of the annual physical check-up policy. This leads to the present cross-sectional study which was designed and conducted in 2008 to assess the personnel’s health status and health risk problems. The instruments of this study are the questionnaire and the results from physical check-up, screening, and health risk checking of the personnel. A total of 2,712 persons (42.47%) had the annual check-up, but 3,060 persons (47.9%) responded the questionnaire. A number of problems found were 1) 452 persons (18%) over weigh, 658 persons (26.2%) obese; 2) 847 persons (34.9%) abdominal obesity, 223 persons (8.2%) metabolic syndrome; 3) 321 persons (12.8%) anemia; 4) 360 persons (21.1%) high cholesterol, 282 persons (17.5%) high triglyceride, 434 persons (27.5%) low HDL, 883 persons (55.9%) high LDL; 5) 67 persons (4.6%) high blood sugar; 6) 124 persons (5.1%) hypertension; 7) Over weigh, abdominal obesity, high cholesterol, hypertension found more in the group of laborers than other professional groups, and anemia found most in the groups of nurse and PNs; 8) 15 persons (4.5%) abnormal mammogram; 9) 653 persons (24.1%) the risk for cardiovascular disease about 1 - 5% in 10 years; 10) 1,963 persons (64.3%) never receiving HBV; 11) 154 persons (5.1%) smoking, 585 persons (19.1%) drinking alcohol, 105 persons (3.4%) smoking and drinking alcohol; 12) consumption of sweet , salty and fatty diets by most personnel; 13) 2,479 persons (81.3%) performing moderate to heavy exercise, 335 persons (11%) performing less than 10 minutes exercise.
Due to great concern over the personnel’s health and health risks, the Faculty has approved of the annual physical check-up policy. This leads to the present cross-sectional study which was designed and conducted in 2008 to assess the personnel’s health status and health risk problems. The instruments of this study are the questionnaire and the results from physical check-up, screening, and health risk checking of the personnel. A total of 2,712 persons (42.47%) had the annual check-up, but 3,060 persons (47.9%) responded the questionnaire. A number of problems found were 1) 452 persons (18%) over weigh, 658 persons (26.2%) obese; 2) 847 persons (34.9%) abdominal obesity, 223 persons (8.2%) metabolic syndrome; 3) 321 persons (12.8%) anemia; 4) 360 persons (21.1%) high cholesterol, 282 persons (17.5%) high triglyceride, 434 persons (27.5%) low HDL, 883 persons (55.9%) high LDL; 5) 67 persons (4.6%) high blood sugar; 6) 124 persons (5.1%) hypertension; 7) Over weigh, abdominal obesity, high cholesterol, hypertension found more in the group of laborers than other professional groups, and anemia found most in the groups of nurse and PNs; 8) 15 persons (4.5%) abnormal mammogram; 9) 653 persons (24.1%) the risk for cardiovascular disease about 1 - 5% in 10 years; 10) 1,963 persons (64.3%) never receiving HBV; 11) 154 persons (5.1%) smoking, 585 persons (19.1%) drinking alcohol, 105 persons (3.4%) smoking and drinking alcohol; 12) consumption of sweet , salty and fatty diets by most personnel; 13) 2,479 persons (81.3%) performing moderate to heavy exercise, 335 persons (11%) performing less than 10 minutes exercise.