Publication:
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารและการสนับสนุนทางสังคมในองค์การกับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษา ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorอภิสิทธิ์ คุณวรปัญญาen_US
dc.contributor.authorคำรณ โชธนะโชติen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-05-16T03:49:38Z
dc.date.available2019-05-16T03:49:38Z
dc.date.created2562-05-16
dc.date.issued2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการติดต่อสื่อสาร การสนับสนุนทาง สังคมและขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การติดต่อสื่อสารกับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน และศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 362 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้สูตร ทาโร ยามาเน (Taro Yamane) กำหนด ค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 และ คำนวณกลุ่มตัวอย่างจากสัดส่วนของส่วนงาน ด้วยวิธีการส่มุ แบบแบ่งระดับชั้น (Stratified Sampling) แล้วทำการเลือกหน่วยตัวอย่างจากประชากรแต่ละ กลุ่มมาให้ครบทุกกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับ โครงสร้างและมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบค่าเอฟ (F-test) ทดสอบค่า สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้ปฏิบัติงานมีพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.50 คะแนน) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การสื่อสารแบบแนวนอน การสื่อสารแบบบนลงล่าง และการสื่อสารแบบข้ามสายงานอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.75, 3.49 และ 3.45 คะแนน ตามลำดับ) ส่วนการสื่อสารแบบล่าง ขึ้นบนอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.29 คะแนน) 2. ผู้ปฏิบัติงานมีการสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.40 คะแนน) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การได้รับการสนับสนุน จากเพื่อนร่วมงาน และการได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาอยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย 3.49 และ 3.31 คะแนน ตามลำดับ) 3. ผู้ปฏิบัติงานมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.47 คะแนน) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความสัมพันธ์ใน ส่วนงาน ด้านความพึงพอใจในงาน ด้านความรู้สึกมั่นคงในการปฏิบัติงาน และ ด้านความก้าวหน้าในงานอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.54, 3.52, 3.46 และ 3.34 คะแนน ตามลำดับ) 4. ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุนที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาปฏิบัติงาน และสถานภาพ ของบุคลากรแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5. พฤติกรรมการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับขวัญกำลัง ใจในการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์ กันปานกลาง (r=0.456) 6. การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวก กับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมี ความสัมพันธ์กันปานกลาง (r=0.488)en_US
dc.description.abstractThis research aims to study the communication behavior, social support and work morale; study the relationship of communication behavior and work morale, and study the relationship of social support and work morale. The sample in this study included 362 supportive staff of Mahidol University, select with simple random sampling and determine the sample size via Taro Yamane formular with α = 0.05, the sample is selected from each affiliation with stratified sampling and select the sample to include all affiliation. The data was collected using the structured questionnaire with the reliability of 0.98, and analyze the data using the frequency, percentage, average, standard deviation, t-test, F-test, and Pearson’s product-moment correlation at p = 0.05. It was found that : 1. The overall level of communication behavior of the participants is in a high level (3.50). Considering each aspect, the horizontal communication, downward communication and diagonal communication levels are high (average value of 3.75, 3.49 and 3.45, respectively), while the upward communication level is medium (3.29). 2. The overall level of social support level of the participants is in a high level (3.40), and when each aspect is considered, both the support from colleagues and support from supervisors are in a high level (3.49 and 3.31, respectively.) 3. The overall level of work morale of the participants is in a high level (3.47), when each aspect is considered, the levels of affiliation engagement, work satisfaction, security, and career progression are high (3.54, 3.52, 3.46, and 3.34, respectively). 4. Personal factors, which include gender, age, education, work period, and personnel status significantly affect the work morale at p=0.05. 5. Communication behavior within the organization and work morale has a moderate positive relationship (r=0.456) at p = 0.05. 6. Social support within the organization and work morale has a moderate positive relationship (r=0.488) at p = 0.05.en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 240-266en_US
dc.identifier.issn2350-983x
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43955
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการen_US
dc.subjectIntegrated Social Science Journalen_US
dc.subjectพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารen_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมในองค์การen_US
dc.subjectขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectนักทรัพยากรบุคคล
dc.subjectเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารและการสนับสนุนทางสังคมในองค์การกับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษา ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeRelationship between Communication and Support from the Society within the Organization and Working Morale : A Case Study of Supportive Staff of Mahidol Universityen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.sh.mahidol.ac.th/JOURNAL/
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/isshmu/article/view/153982/112097

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
sc-ar-aphisit-2561-1.pdf
Size:
7.7 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections