Publication:
ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก ตามกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากในสามเณรไทย

dc.contributor.authorณัฐมา ทองธีรธรรมen_US
dc.contributor.authorวัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์en_US
dc.contributor.authorสุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorยุทธพิชัย โพธิ์ศรีen_US
dc.contributor.authorอรพรรณ โตสิงห์en_US
dc.contributor.authorธิมาภรณ์ ซื่อตรงen_US
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ฉันท์เรืองวณิชย์en_US
dc.contributor.authorNatma Thongterathamen_US
dc.contributor.authorWallada Chanruangvanichen_US
dc.contributor.authorSuchada Pattramongkolriten_US
dc.contributor.authorYoothapichai Phosrien_US
dc.contributor.authorOrapan Tosinghaen_US
dc.contributor.authorThimaporn Suetrongen_US
dc.contributor.authorJutharath Chanruangvanichen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลเจ้าพระยา. ศูนย์ทันตกรรมen_US
dc.date.accessioned2022-03-29T11:53:37Z
dc.date.available2022-03-29T11:53:37Z
dc.date.created2565-03-29
dc.date.issued2565
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในสามเณร ตามกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อ ความรู้ ทัศนคติ และทักษะปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปาก รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลองชนิดกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: สามเณร 104 รูป ณ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาแห่งหนึ่ง ได้รับเลือกเป็นตัวอย่างในการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล 3 ครั้งคือ ก่อนรับโปรแกรม หลังรับโปรแกรมทันที และหลังรับโปรแกรมหนึ่งเดือน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความรู้การดูแลสุขภาพช่องปาก แบบประเมินทัศนคติการดูแลสุขภาพช่องปาก และแบบประเมินทักษะปฏิบัติการดูแลสุขภาพช่องปาก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติทดสอบทีแบบสองกลุ่มสัมพันธ์กัน ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมทันทีพบว่า ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของสามเณรลดลง (t = 32.03, p < .001) แต่ทัศนคติและทักษะปฏิบัติดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -96.92, p < .001; t = -2.64, p = .010 ตามลำดับ) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมหนึ่งเดือน ความรู้และทัศนคติเพิ่มขึ้น (t = -56.37, p < .001; t = -121.42, p < .001 ตามลำดับ) ส่วนทักษะปฏิบัติลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (t = 2.55, p = .013) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยสนับสนุนประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากตามกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบางส่วน โดยภายหลังการได้รับโปรแกรมหนึ่งเดือน สามเณรมีความรู้และทัศนคติดีขึ้น ยกเว้นเรื่องทักษะปฏิบัติ จึงควรปรับปรุงโปรแกรมโดยอาจเพิ่มจำนวนวันดำเนินการและกิจกรรมที่น่าสนใจ รวมถึงมีระบบพี่เลี้ยงหรือการกระตุ้นเตือน เป็นต้น และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากโดยใช้กรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มเปราะบางอื่นๆ เช่น เด็กนอกโรงเรียน แรงงาน ผู้อพยพ หรือผู้สูงอายุen_US
dc.description.abstractPurpose: To study the effects of the oral health promotion program using sufficiency economy philosophy as a framework for Thai novices' knowledge, attitude, and skills towards oral health. Design: A quasi-experimental study using a one-group pre-and post-test design. Methods: Participants of 104 Thai novices were selected from a rural Buddhist School. Data collection was at baseline, immediately, and one month after program implementing. The research instruments consisted of the personal record form, knowledge about oral health scale, attitude towards oral health scale, and skill towards oral health scale. Paired t-test was used to compare pre-and post-test scores. Main findings: When compared average scores between baseline and after the program immediately, knowledge toward oral health in Thai novices were significantly decreased (t = 32.03, p < .001) while attitude and skills were significantly increased (t = -96.92, p < .001; and t = -2.64, p = .010, respectively). When compared average scores between baseline and one-month after the program, knowledge and attitudes became increased (t = -56.37, p < .001; and t = -121.42, p < .001, respectively) while skills decreased (t = 2.55, p = .013). Conclusion and recommendations: The program using sufficiency economy philosophy as a framework could partly support its effectiveness by being able to improve knowledge and attitude, except skills, towards oral health in Thai novices at one-month after the program. The findings suggest that the program needs some revision by increasing the program duration and more attractive activities, as well as having buddy system, for example. Effects of the oral health promotion program using sufficiency economy philosophy as a framework in other specific vulnerable groups such as out-of-school children, layperson, immigrants, or aging people should be further studied.en_US
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2565), 87-107en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64418
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectโปรแกรมดูแลสุขภาพช่องปากen_US
dc.subjectทักษะปฏิบัติen_US
dc.subjectทักษะปฏิบัติen_US
dc.subjectattitudeen_US
dc.subjectknowledgeen_US
dc.subjectoral health programen_US
dc.subjectskillsen_US
dc.subjectsufficiency economy philosophyen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectNursing Science Journal of Thailanden_US
dc.titleผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก ตามกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากในสามเณรไทยen_US
dc.title.alternativeEffects of the Oral Health Promotion Program Using Sufficiency Economy Philosophy as a Framework on Knowledge, Attitude, and Skills towards Oral Health in Thai Novicesen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/251178

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-natma-2565.pdf
Size:
1.42 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections