Publication: Carbon stocks in soil of mixed deciduous forest and teak plantation
Issued Date
2007-06
Resource Type
Language
eng
ISSN
1686-6096
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.1, (June 2007), 80-86
Suggested Citation
Waetanee Tangsinmankong, Nathsuda Pumijumnong, Lek Moncharoen, Sirirat Janmahasatien, นาฎสุดา ภูมิจำนงค์ Carbon stocks in soil of mixed deciduous forest and teak plantation. Environment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.1, (June 2007), 80-86. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48071
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Carbon stocks in soil of mixed deciduous forest and teak plantation
Alternative Title(s)
ปริมาณคาร์บอนในดินของป่าเบญจพรรณและสวนป่าสัก
Abstract
The objectives of this study were to examine carbon stocks in soil of mixed deciduous forest and teak plantation of 6, 15 and 24 years of age. The study was conducted in 2 areas; mixed deciduous forest at Huay Kha Khaeng Wildlife Sanctuary and teak plantation of Thai Plywood Co., Ltd. in Lansak District, Uthaithani Province. The soil samples were collected in September 2003. Results revealed that soil organic carbon from all sites decreased generally with the increasing depth. From the surface soil down to the level of 100 cm. The highest carbon stocks in soil were recorded at the 6-year-old teak plantation, followed by the 24 and 15-year-old teak plantations and mixed deciduous forest 157.03, 105.67, 78.78 and 70.96 tC/ha respectively. The dissimilarity of soil organic carbon may be due to forest fire, forest management and topography.
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปริมาณคาร์บอนในดินของป่าเบญจพรรณธรรมชาติ และสวนป่าสักชั้นอายุ 6 ปี, 15 ปี และ 24 ปี ตามลาดับ พื้นที่ศึกษาทั้งสองแห่ง ได้แก่ ป่าเบญจพรรณธรรมชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และสวนป่าสัก บริษัทไม้อัดไทย จากัด อาเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี เก็บตัวอย่างดินในช่วงเดือน กันยายน 2546 ผลการศึกษา พบว่า ปริมาณอินทรียคาร์บอนในดิน ของป่าเบญจพรรณและสวนป่าสักทุกชั้นอายุ ลดลง เมื่อความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น ที่ระดับความลึก 0-100 เซนติเมตร สวนป่าสักชั้นอายุ 6 ปี มีปริมาณอินทรียคาร์บอนในดินสูงที่สุด เท่ากับ 157.03 tC/ha รองลงมาได้แก่ สวนป่าสักชั้นอายุ 24 ปี, 15 ปี และป่าเบญจพรรณธรรมชาติ ซึ่งมีปริมาณเท่ากับ 105.67, 78.78 และ 70.96 tC/ha ตามลาดับ ความแตกต่างของอินทรียคาร์บอน อาจเนื่องจาก ไฟป่า การจัดการป่าไม้ และ สภาพภูมิประเทศเป็นปัจจัยสาคัญ.
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปริมาณคาร์บอนในดินของป่าเบญจพรรณธรรมชาติ และสวนป่าสักชั้นอายุ 6 ปี, 15 ปี และ 24 ปี ตามลาดับ พื้นที่ศึกษาทั้งสองแห่ง ได้แก่ ป่าเบญจพรรณธรรมชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และสวนป่าสัก บริษัทไม้อัดไทย จากัด อาเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี เก็บตัวอย่างดินในช่วงเดือน กันยายน 2546 ผลการศึกษา พบว่า ปริมาณอินทรียคาร์บอนในดิน ของป่าเบญจพรรณและสวนป่าสักทุกชั้นอายุ ลดลง เมื่อความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น ที่ระดับความลึก 0-100 เซนติเมตร สวนป่าสักชั้นอายุ 6 ปี มีปริมาณอินทรียคาร์บอนในดินสูงที่สุด เท่ากับ 157.03 tC/ha รองลงมาได้แก่ สวนป่าสักชั้นอายุ 24 ปี, 15 ปี และป่าเบญจพรรณธรรมชาติ ซึ่งมีปริมาณเท่ากับ 105.67, 78.78 และ 70.96 tC/ha ตามลาดับ ความแตกต่างของอินทรียคาร์บอน อาจเนื่องจาก ไฟป่า การจัดการป่าไม้ และ สภาพภูมิประเทศเป็นปัจจัยสาคัญ.