Publication: Factors affecting computer game addiction and mental health of male adolescents in Mueang District, Si Sa Ket Province
Issued Date
2008
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
81484 bytes
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health. Vol.38, No.3 (2008), 317-330
Suggested Citation
Supaket, P, Munsawaengsub, C, Chokchai Munsawaengsub, Nanthamongkolchai, S, Sutham Nanthamongkolchai, Apinuntavech, S, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, สุธรรม นันทมงคลชัย Factors affecting computer game addiction and mental health of male adolescents in Mueang District, Si Sa Ket Province. Journal of Public Health. Vol.38, No.3 (2008), 317-330. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2318
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors affecting computer game addiction and mental health of male adolescents in Mueang District, Si Sa Ket Province
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดเกมคอมพิวเตอร์และสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
Abstract
This survey research aimed to study the factors affecting computer game addiction, mental
health status, and the association of computer game addiction with the mental health of male adolescents
in Mueang District, Si Sa Ket Province. The samples were 333 Mathayomsuksa One to Three students
in Si Sa Ket municipal school selected by stratified random sampling to classify the schools and
the grade. Data were collected by self administered questionnaires and Thai General Health Questionnaire
28 (Thai GHQ 28) during August 28, 2007 to September 28, 2007 and analyzed by frequency,
percentage, means, Chi-square test and Multiple logistic regression.
The study found that 23.1% of the adolescents were computer game addicted and 76.9%
were not. The factors with a statistically significant (p-value < 0.05) effect on the computer game
addicted were the availability of Internet-connected PCs in house and the inclination of friends. Those
adolescents with home internet had a 2.3 times higher chance of being addicted than those without
home internet and those with higher friend inclination had a 2.2 times higher chance of being addicted
than those with lower friend inclination. On the mental health status of the male adolescents, the
study revealed that 61.0% of adolescents who were addicted had poor mental health and computer
game addiction was associated with weakened mental health status; a higher proportion of those who were addicted had poor mental health than those who were not addicted.
The study suggests that the family should set up the computer in a common room so that
the parents can observe and participate; in order to interrupt their children from playing unwholesome
games. The family should make friends with their child’s peer group and be familiar with them in
order to suggest and observe the game content to help preventing computer game addiction in their
child.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดเกมคอมพิวเตอร์และสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ จำนวน 333 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจำแนกตามโรงเรียนและระดับชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และแบบทดสอบสภาวะสุขภาพจิต Thai GHQ - 28 ระหว่างวันที่ 28 สิงหาคม ถึงวันที่ 28 กันยายน 2550 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย Chi-square test และ Logistic Regression ผลการศึกษาพบว่า วัยรุ่นชายติดเกมคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 23.1 ไม่ติดเกมคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 76.9 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดเกมคอมพิวเตอร์ของวัยรุ่นชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่การมีคิมพิวเตอร์อยู่ในบ้านและใช้อินเทอร์เน็ตได้ การคล้อยตามกลุ่มเพื่อน โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ในบ้านและใช้อินเตอร์เน็ตได้ มีโอกาสที่จะติดเกมคอมพิวเตอร์เป็น 2.3 เท่า ของกลุ่มตัวอย่างที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ในบ้านและใช้อินเตอร์เน็ตได้ และกลุ่มตัวอย่างที่มีการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนมากมีโอกาสที่จะติดเกมคอมพิวเตอร์เป็น 2.2 เท่า ของกลุ่มตัวอย่างที่มีการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนน้อย ส่วนสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ติดเกมคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพจิตไม่ดี มากที่สุด ร้อยละ 61.0 และ พบว่า การติดเกมเกมคอมพิวเตอร์ มีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย โดยวัยรุ่นชายที่ติดเกมคอมพิวเตอร์มีสัดส่วนของสุขภาพจิตไม่ดี สูงกว่า และวัยรุ่นที่ไม่ติดเกมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรส่งเสริมให้ครอบครัวจัดสถานที่วางเกมคอมพิวเตอร์ห้องโล่งที่ผู้ปกครองสามารถและเข้าไปมีส่วนร่วม สังเกตการเล่น เพื่อป้องกันสื่อของเกม รวมไปจนถึงเรื่องการคบเพื่อนของวันรุ่น ผู้ปกครองควรทำความรู้จักกับกลุ่มเพื่อน เพื่อที่จะได้ดูแลวัยรุ่นและเพื่อนในเรื่องการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมและป้องกันการติดคอมพิวเตอร์ของวัยรุ่นได้
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดเกมคอมพิวเตอร์และสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ จำนวน 333 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจำแนกตามโรงเรียนและระดับชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และแบบทดสอบสภาวะสุขภาพจิต Thai GHQ - 28 ระหว่างวันที่ 28 สิงหาคม ถึงวันที่ 28 กันยายน 2550 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย Chi-square test และ Logistic Regression ผลการศึกษาพบว่า วัยรุ่นชายติดเกมคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 23.1 ไม่ติดเกมคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 76.9 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดเกมคอมพิวเตอร์ของวัยรุ่นชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่การมีคิมพิวเตอร์อยู่ในบ้านและใช้อินเทอร์เน็ตได้ การคล้อยตามกลุ่มเพื่อน โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ในบ้านและใช้อินเตอร์เน็ตได้ มีโอกาสที่จะติดเกมคอมพิวเตอร์เป็น 2.3 เท่า ของกลุ่มตัวอย่างที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ในบ้านและใช้อินเตอร์เน็ตได้ และกลุ่มตัวอย่างที่มีการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนมากมีโอกาสที่จะติดเกมคอมพิวเตอร์เป็น 2.2 เท่า ของกลุ่มตัวอย่างที่มีการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนน้อย ส่วนสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ติดเกมคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพจิตไม่ดี มากที่สุด ร้อยละ 61.0 และ พบว่า การติดเกมเกมคอมพิวเตอร์ มีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชาย โดยวัยรุ่นชายที่ติดเกมคอมพิวเตอร์มีสัดส่วนของสุขภาพจิตไม่ดี สูงกว่า และวัยรุ่นที่ไม่ติดเกมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรส่งเสริมให้ครอบครัวจัดสถานที่วางเกมคอมพิวเตอร์ห้องโล่งที่ผู้ปกครองสามารถและเข้าไปมีส่วนร่วม สังเกตการเล่น เพื่อป้องกันสื่อของเกม รวมไปจนถึงเรื่องการคบเพื่อนของวันรุ่น ผู้ปกครองควรทำความรู้จักกับกลุ่มเพื่อน เพื่อที่จะได้ดูแลวัยรุ่นและเพื่อนในเรื่องการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมและป้องกันการติดคอมพิวเตอร์ของวัยรุ่นได้