Publication: An overview of American Buddhist poetry: its genesis and typical features and differences from Asian Buddhist poetry
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Liberal Arts Mahidol University
Bibliographic Citation
The Journal. Vol.10, No.1 (2014), 93-125
Suggested Citation
Somboon Pojprasat An overview of American Buddhist poetry: its genesis and typical features and differences from Asian Buddhist poetry. The Journal. Vol.10, No.1 (2014), 93-125. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/9947
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
An overview of American Buddhist poetry: its genesis and typical features and differences from Asian Buddhist poetry
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
American Buddhist poetry is an interesting genre which has enjoyed its increased readership since the early nineties. However, it is more perplexing than clarifying, especially when read in juxtaposition with Asian Buddhist poetry. One might experience difficulties in the interpretation of underlying spiritual message which is to a large degree americanised, the unconventional poetic form that even complicates its meaning, and its remarkable divergence from the Asian counterpart. This paper then aims to discuss three main issues, namely the development of Buddhism in America together with typical, complicated features of American Buddhism, the salient characteristics of Asian Buddhist poetry, and the comparison between the two cultures of Buddhist poetry, in the hope of shedding brighter light on this special genre.
บทกลอนคำสอนทางศาสนาพุทธที่แต่งโดยกวีชาวอเมริกันมีความน่าสนใจเป็นพิเศษและได้รับความสนใจอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นยุคคริสตศักราช 1900 ทว่าการทำความเข้าใจบทกลอนประเภทนี้ดูจะไม่ง่ายนักและยังอาจสร้างความสงสัยให้กับผู้อ่านอีกด้วย โดยเฉพาะถ้านำไปเปรียบเทียบกับบทกลอนประเภทเดียวกันที่เขียนโดยกวีชาวเอเชีย ความสลับซับซ้อนของบทกลอนโดยกวีชาวอเมริกันสามารถสรุปออกมาเป็นสามประการหลักดังนี้ ประการแรก เนื้อหา คติ คำสอนทางศาสนาพุทธได้ถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับรูปแบบความคิดของคนอเมริกัน ประการที่สอง ฉันทลักษณ์ของบทกลอนมีความหลากหลายมำก อีกทั้งกวีไม่ได้แต่งตามรูปแบบดั้งเดิม และประการที่สามคือวิธีการและเนื้อหาที่นำเสนอซึ่งต่างกับกวีชาวเอเชียอย่างเห็นได้ชัด เพื่อเป็นแนวทางในการอ่านบทกลอนคำสอนทางศาสนาพุทธที่แต่งโดยกวีชาวอเมริกันให้มีความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงขอนำเสนอและอภิปรายข้อมูลที่สำคัญได้แก่ พัฒนาการศาสนาพุทธในอเมริกาพร้อมด้วยลักษณะเฉพาะของบทกลอนประเภทนี้ที่เขียนโดยกวีชาวอเมริกันและชาวเอเชีย และการเปรียบเทียบความเหมือนความต่างทีปรากฏในบทกลอนของกวีจากสองวัฒนธรรม
บทกลอนคำสอนทางศาสนาพุทธที่แต่งโดยกวีชาวอเมริกันมีความน่าสนใจเป็นพิเศษและได้รับความสนใจอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นยุคคริสตศักราช 1900 ทว่าการทำความเข้าใจบทกลอนประเภทนี้ดูจะไม่ง่ายนักและยังอาจสร้างความสงสัยให้กับผู้อ่านอีกด้วย โดยเฉพาะถ้านำไปเปรียบเทียบกับบทกลอนประเภทเดียวกันที่เขียนโดยกวีชาวเอเชีย ความสลับซับซ้อนของบทกลอนโดยกวีชาวอเมริกันสามารถสรุปออกมาเป็นสามประการหลักดังนี้ ประการแรก เนื้อหา คติ คำสอนทางศาสนาพุทธได้ถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับรูปแบบความคิดของคนอเมริกัน ประการที่สอง ฉันทลักษณ์ของบทกลอนมีความหลากหลายมำก อีกทั้งกวีไม่ได้แต่งตามรูปแบบดั้งเดิม และประการที่สามคือวิธีการและเนื้อหาที่นำเสนอซึ่งต่างกับกวีชาวเอเชียอย่างเห็นได้ชัด เพื่อเป็นแนวทางในการอ่านบทกลอนคำสอนทางศาสนาพุทธที่แต่งโดยกวีชาวอเมริกันให้มีความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงขอนำเสนอและอภิปรายข้อมูลที่สำคัญได้แก่ พัฒนาการศาสนาพุทธในอเมริกาพร้อมด้วยลักษณะเฉพาะของบทกลอนประเภทนี้ที่เขียนโดยกวีชาวอเมริกันและชาวเอเชีย และการเปรียบเทียบความเหมือนความต่างทีปรากฏในบทกลอนของกวีจากสองวัฒนธรรม