Publication: Association between Consumption of Social Drug and Coronary Artery Disease among Patients at Kasemrad Prachachuen Hospital, Bangkok
Issued Date
2013
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.11, No.3 (2013), 3-12
Suggested Citation
Maneerat Rongthong, Doungjai Buntup, Jiraporn chompikul Association between Consumption of Social Drug and Coronary Artery Disease among Patients at Kasemrad Prachachuen Hospital, Bangkok. Journal of Public Health and Development. Vol.11, No.3 (2013), 3-12. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1585
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Association between Consumption of Social Drug and Coronary Artery Disease among Patients at Kasemrad Prachachuen Hospital, Bangkok
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคสิ่งเสพติดที่ใช้เพื่อการเข้าสังคมและโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยที่โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น กรุงเทพมหานคร
Other Contributor(s)
Abstract
Coronary artery disease (CAD) is the cause of one in three deaths among Thais. This unmatched
case-control study aimed to determine the association between social drug consumption and CAD. The cases
were 140 patients who were undergoing percutaneous coronary intervention and 140 controls selected from
the OPD and other suitable wards. Data were collected using a structured questionnaire. Chi-square tests
and multiple logistic regression were used to identify variables related to CAD.
The results showed that 11 variables were signicantly associated with CAD: age, education, body mass
index (BMI), diabetes, hypertension, hyperlipidemia, a family history of CAD, high fat consumption, lack of
physical activity, smoking and consumption of energy drinks. Smoking showed a higher risk of CAD (OR = 3.20,
95% CI = 1.65-6.20) than alcohol (OR = 0.36, 95% CI = 0.18-0.72) when adjusted for other factors. This study
concluded that CAD is associated with smoking. We suggest that patients should be provided with knowledge
about the use of social drugs and the harmful effects of drug-dependent behavior.
โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ใน 3 ของประชากรไทย การวิจัยแบบการศึกษาย้อนหลังแบบไม่จับคู่นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคสิ่งเสพติดที่ใช้เพื่อการเข้าสังคม(บุหรี่ แอลกฮอล์ และคาเฟอีน) และโรคหลอดเลือดหัวใจ ใช้กลุ่มศึกษาจำนวน 140 คน ซึ่งเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่เข้ารับการรักษาทำหัตถการใส่ขดลวดขยายหลอดเลือดหัวใจ และกลุ่มควบคุม 140 คน โดยคัดเลือกจากแผนกผู้ป่วยนอกและหอผู้ป่วยอื่นๆ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบถาม สถิติที่ใช้เพื่อการทดสอบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้แก่ ไคสแควร์และการถดถอยโลจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษาเบื้องต้นพบว่า มีปัจจัย 11 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้แก่ อายุ การศึกษา ดัชนีมวลกาย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคไขมันในเส้นเลือด ประวัติครอบครัวที่เจ็บป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ การบริโภคอาหารไขมันสูง การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มชูกำลัง เมื่อใช้การถดถอยโลจิสติกพหุคูณในการควบคุมตัวแปรกวน พบว่า บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ(OR = 3.20,95% CI = 1.65-6.20) มากกว่าการบริโภคเครื่องดื่มแอลกฮอล์ (OR = 0.36,95% CI = 0.18-0.72) ผลการศึกษานี้สรุปว่าการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจมีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ ควรมีการให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยในการใช้สิ่งเสพติดที่ใช้เพื่อการเข้าสังคมและผลกระทบของพฤติกรรมการเสพติด
โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ใน 3 ของประชากรไทย การวิจัยแบบการศึกษาย้อนหลังแบบไม่จับคู่นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคสิ่งเสพติดที่ใช้เพื่อการเข้าสังคม(บุหรี่ แอลกฮอล์ และคาเฟอีน) และโรคหลอดเลือดหัวใจ ใช้กลุ่มศึกษาจำนวน 140 คน ซึ่งเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่เข้ารับการรักษาทำหัตถการใส่ขดลวดขยายหลอดเลือดหัวใจ และกลุ่มควบคุม 140 คน โดยคัดเลือกจากแผนกผู้ป่วยนอกและหอผู้ป่วยอื่นๆ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบถาม สถิติที่ใช้เพื่อการทดสอบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้แก่ ไคสแควร์และการถดถอยโลจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษาเบื้องต้นพบว่า มีปัจจัย 11 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้แก่ อายุ การศึกษา ดัชนีมวลกาย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคไขมันในเส้นเลือด ประวัติครอบครัวที่เจ็บป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ การบริโภคอาหารไขมันสูง การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มชูกำลัง เมื่อใช้การถดถอยโลจิสติกพหุคูณในการควบคุมตัวแปรกวน พบว่า บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ(OR = 3.20,95% CI = 1.65-6.20) มากกว่าการบริโภคเครื่องดื่มแอลกฮอล์ (OR = 0.36,95% CI = 0.18-0.72) ผลการศึกษานี้สรุปว่าการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจมีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ ควรมีการให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยในการใช้สิ่งเสพติดที่ใช้เพื่อการเข้าสังคมและผลกระทบของพฤติกรรมการเสพติด